ไล่เรียง ข้อกำหนด “ห้ามชุมนุม” ตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ
อ่าน

ไล่เรียง ข้อกำหนด “ห้ามชุมนุม” ตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

การควบคุมการแพร่ระบาดของโควิด 19 เป็นการประกาศใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่กินระยะเวลายาวนานที่สุด ไม่นับการใช้ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
แนวปฏิบัติในการดูแลการชุมนุมสาธารณะในพื้นที่สถาบันการศึกษาของรัฐตามหลักสากล
อ่าน

แนวปฏิบัติในการดูแลการชุมนุมสาธารณะในพื้นที่สถาบันการศึกษาของรัฐตามหลักสากล

อ.ดร.พัชร์ นิยมศิลป เขียนบทความอธิบายหลักการสากลที่คุ้มครองเสรีภาพในการชุมนุม สิ่งที่สถานศึกษาควรจะทำเพื่ออำนวยความสะดวกให้การชุมนุม โดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า พร้อมย้ำ หากสถานศึกษาไม่ให้ใช้สถานที่เท่ากับผลักเยาวชนออกไปถูกดำเนินคดีตาม พ.ร.บ.ชุมนุมฯ
แจงสามประเด็นปัญหาการตีความ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ
อ่าน

แจงสามประเด็นปัญหาการตีความ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ

แอมเนสตี้ฯ เปิดรายงานสถานการณ์สิทธิฯ เอเชีย-แปซิฟิก ชี้ไทยยังไม่ได้มาตรฐานสากล สิรวิชญ์หรือจ่านิวเล่าประสบการณ์ ถูกเอากฎหมายปกติมาใช้แบบไม่ปกติ คดีเยอะทำให้ใช้ชีวิตปกติไม่ได้ ผศ.ดร.จันทจิราแจงสามประเด็นปัญหาการตีความพ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ
ปรากฏการณ์ใช้ พ.ร.บ.ชุมนุมฯ “ขู่” ประชาชนห้ามชุมนุมทุกประเภท
อ่าน

ปรากฏการณ์ใช้ พ.ร.บ.ชุมนุมฯ “ขู่” ประชาชนห้ามชุมนุมทุกประเภท

พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะเริ่มใช้จริงได้ไม่นาน ก็บันทึกปรากฏการณ์ได้หลายต่อหลายครั้ง ที่ทั้งตำรวจ ทหาร และผู้นำระดับบิ๊กเนม อ้าง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ เพื่อให้ประชาชนเลิกชุมนุมหรือไม่กล้าทำกิจกรรมต่างๆ ทั้งในเรื่องการเมือง เรื่องปากท้อง เรื่องสิ่งแวดล้อม และเรื่องอื่นๆ
สำรวจความเห็นภาคประชาชนต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ
อ่าน

สำรวจความเห็นภาคประชาชนต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ

ร่าง พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ อยู่ระหว่างการพิจารณาของ สนช. ร่างกฎหมายนี้อาจส่งผลกระทบต่อประชาชนหลายกลุ่มที่จำเป็นต้องใช้การชุมนุมเป็นช่องทางในการเรียกร้องความเป็นธรรม เราสำรวจความเห็นของภาคประชาสังคมที่ใช้ช่องทางนี้เป็นประจำว่าเขาคิดเห็นอย่างไรกับร่างกฎหมายฉบับนี้    
ร่างพ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะฉบับสตช.57: ประชาชนไทยไม่รู้ไม่ได้
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะฉบับสตช.57: ประชาชนไทยไม่รู้ไม่ได้

ปี 2557 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ขุดเอาร่างพ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ มาเสนออีกครั้ง เตรียมเข้าสู่สนช. มาคราวนี้กำหนดหน้าที่ผู้จัดการชุมนุมต้องแจ้งล่วงหน้า กำหนดหน้าที่ตำรวจคอยอำนวยความสะดวก และกำหนดขั้นตอนกรณีต้องสลายการชุมนุมที่ไม่สงบและปราศจากอาวุธ
คดีการชุมนุมที่หนองแซง: สิทธิตามรัฐธรรมนูญที่ถูกกดทับด้วยกฎหมายลูก
อ่าน

คดีการชุมนุมที่หนองแซง: สิทธิตามรัฐธรรมนูญที่ถูกกดทับด้วยกฎหมายลูก

หลังสิ้นคำพิพากษาศาลฎีกา ที่ลงโทษผู้ชุมนุมที่ประท้วงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ฐานปิดกั้นทางหลวงและใช้เครื่องเสียง ตี๋ ตรัยรัตนแสงมณี หนึ่งในจำเลยเห็นว่า แม้รัฐธรรมนูญจะรับรองสิทธิการชุมนุม แต่ก็ไม่ได้มีบทบัญญัติที่ชัดเจน อีกทั้งคำพิพากษาของศาลฎีกาก็ชี้ว่า ศาลรัฐธรรมนูญไม่เคยตีความหรือบัญญัติเรื่องการชุมนุมเอาไว้ สิทธิตามรัฐธรรมนูญจึงเป็นไปอย่างจำกัด
จันทจิรา เอี่ยมมยุรา : คุณค่าของเสรีภาพการชุมนุมอยู่ที่วุฒิภาวะของสังคม
อ่าน

จันทจิรา เอี่ยมมยุรา : คุณค่าของเสรีภาพการชุมนุมอยู่ที่วุฒิภาวะของสังคม

ผศ.ดร.จันทจิรา เอี่ยมมยุรา นิติศาสตร์ มธ.ชี้ เสรีภาพในการชุมนุมโดยสภาพสร้างความเดือดร้อนหรือรบกวนเสรีภาพของคนอื่นอยู่แล้ว แต่แม้จะใช้เครื่องขยายเสียง หรือทำให้คนที่อยู่อาศัยใกล้ๆ เดือดร้อนก็ยังเป็นการชุมนุมโดยสงบ มีดหรือปืนถ้ามีไม่มากก็อาจถือว่าปราศจากอาวุธ
เสรีภาพการชุมนุม: ความหมายไม่ได้เขียนโดยศาล-ปัญหามาจากมหาวิทยาลัย
อ่าน

เสรีภาพการชุมนุม: ความหมายไม่ได้เขียนโดยศาล-ปัญหามาจากมหาวิทยาลัย

เสวนา “ก้าวต่อไปเสรีภาพในการชุมนุม มองผ่านคำพิพากษา” สมชาย ปรีชาฯชี้ ศาลไม่คงเส่นคงวา สังคมต้องช่วยกันให้ความหมายเสรีภาพ กิตติศักดิ์ชี้ มหาลัยบกพร่องที่ไม่สอนเรื่องรัฐธรรมนูญ ทนายชี้ศาลไม่รับฟังเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ
คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายเห็นพ้อง คว่ำร่างกม.ชุมนุม
อ่าน

คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายเห็นพ้อง คว่ำร่างกม.ชุมนุม

คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ได้มติจากภาคประชาชน คว่ำกฎหมายชุมนุมสาธารณะ เตรียมเสนอรัฐบาลใหม่ปัดทิ้งในวันแถลงนโยบาย