อ่าน สอดแนมประชาชน เสรีภาพการแสดงออก Parasite that Smiles: Pegasus Spyware Targeting Dissidents in Thailandกรกฎาคม 16, 2022 In an ongoing investigation, 30 individuals have so far been found to have been infected with Pegasus in 2020-2021. 0 0 0
อ่าน สอดแนมประชาชน เสรีภาพการแสดงออก ปรสิตติดโทรศัพท์ : รายงานข้อค้นพบการใช้เพกาซัสสปายแวร์ในประเทศไทยกรกฎาคม 16, 2022 ข้อค้นพบเมื่อสปายแวร์เพกาซัสอาวุธสอดแนมทางไซเบอร์ที่ก้าวหน้าที่สุดในโลกถูกใช้ต่อผู้เห็นต่างจากรัฐบาลไทยอย่างน้อย 30 คนระหว่างปี 2563-2564 0 0 0
อ่าน ติดตามกฎหมาย บทความกฎหมายอื่นๆ จด•หมายเหตุ นคร เสรีรักษ์: นับถอยหลังสู่ 27 พฤษภาคม 2563 (หากจะมี)การบังคับใช้กฎหมายข้อมูลส่วนบุคคลเต็มฉบับพฤษภาคม 17, 2020 จด•หมายเหตุ เป็นข้อเขียนของ "นคร เสรีรักษ์" นักวิชาการทางกฎหมายและผู้ก่อตั้งกลุ่ม Privacy Thailand ที่พยายามจดและบันทึกความเคลื่อนไหวทางสังคมในมุมสิทธิเสรีภาพและกฎหมาย โดยครั้งนี้ เขาจะเล่าถึงข้อสังเกตต่อการบังคับใช้กฎหมายข้อมูลส่วนบุคคลเต็มฉบับที่มีแนวโน้มจะถูกเลื่อนการบังคับใช้ออกไป 0 0 0
อ่าน บทความเสรีภาพอื่นๆ สอดแนมประชาชน บทเรียนจากการสอดส่องประชาชนในต่างประเทศ: เมื่อรัฐลุแก่อำนาจและทำลายเศรษฐกิจดิจิทัลมีนาคม 31, 2016 หลายครั้งเวลาเกิดปัญหา เราสามารถที่จะเรียนรู้จากอดีตหรือมิตรสหายได้ ทั้งนี้ เมื่อประเทศไทยกำลังจะมี "กฎหมายสอดส่อง" จึงต้องขอยกบทเรียนจากต่างประเทศมาพิสูจน์ให้เห็นว่า อำนาจจากกฎหมายดังกล่าวกำลังก่อให้เกิดปัญหาอย่างไร และคุ้มค่าแล้วหรือไม่ 0 0 0
อ่าน จับตา สนช. ติดตามกฎหมาย บทความกฎหมายอื่นๆ ฟังเรื่องกังวลใจของนักกฎหมาย ต่อร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลกุมภาพันธ์ 10, 2015 ร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ฉบับความมั่นคงดิจิทัล มีข้อถกเถียงหลายประการ การเก็บข้อมูลต้องขอความยินยอมก่อนหรือไม่? การทำงานของสื่อมวลชนควรได้รับการยกเว้นหรือไม่? จะสร้างสมดุลระหว่างการค้าขายกับการคุ้มครองอย่างไร? คุยกับรศ.ดร.คณาธิป ทองรวีวงศ์ 0 0 0
อ่าน จับตา สนช. ติดตามกฎหมาย บทความกฎหมายอื่นๆ สอดแนมประชาชน หมายศาลก็ยังไม่พอ!: ต่อประเด็นถกเถียง “ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล”กุมภาพันธ์ 2, 2015 กระแสคัดค้าน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ทำให้ผู้ร่างกฎหมายยืนยันว่าจะมีการแก้ไข และยังย้ำว่าร่างกฎหมายนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องออกในช่วงเวลานี้ ต่อประเด็นข้างต้น iLaw จึงขอนำประเด็นถกเถียงที่เกิดขึ้นมาตอบ เพื่อสร้างข้อถกเถียงใหม่ที่จะเป็นประโยชน์ต่ออนาคตของ "ชุดกฎหมายความมั่งคงดิจิทัล" ต่อไป 0 0 0
อ่าน จับตา สนช. บทความกฎหมายอื่นๆ 19 ประเด็นสำคัญที่เปลี่ยนแปลงในร่าง พ.ร.บ.คุ้มครอง Privacy (ฉบับความมั่นคงดิจิทัล)มกราคม 21, 2015 ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ถูกเสนอสู่สนช.แล้วครั้งหนึ่ง แต่ถูกเสนอซ้ำอีกครั้งในชุด "กฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ซึ่งมีเนื้อหาเปลี่ยนไปมาก ใช้หลัก "แจ้งให้ทราบ" เมื่อเก็บข้อมูล โดยไม่ต้องขอความยินยอม ย้ายงานข้อมูลส่วนบุคคลมาอยู่ใต้สำนักงานความมั่นคงไซเบอร์ฯ 0 0 0
อ่าน ไม่มีหมวดหมู่ เปิดร่างกฎหมายคุ้มครอง Privacyธันวาคม 11, 2014 สิทธิส่วนบุคคล เป็นสิทธิพื้นฐานทั่วไปของมนุษย์ที่ต้องได้รับความคุ้มครอง ในกรณีประเทศไทยไม่เคยมีกฎหมายที่ใช้คุ้มครองสิทธิในด้านนี้เป็นการเฉพาะมาก่อน ดังนั้นเมื่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้หยิบยกกฎหมายฉบับนี้ขึ้นมาพิจารณาจึงเป็นที่จับตาว่า หน้าตาของกฎหมายจะเป็นอย่างไร 0 0 0
อ่าน ติดตามกฎหมาย บทความกฎหมายอื่นๆ ความเป็นส่วนตัว: ใครกันเป็นเจ้าของ?สิงหาคม 23, 2013 ปัจจุบัน สังคมถกเถียงในประเด็นความเป็นส่วนตัวกันมาก แต่กฎหมายยังไม่มีนิยามแน่นอนว่า สิทธิในความเป็นส่วนตัว หมายความว่าอย่างไร ใครเป็นเจ้าของ กฎหมายเข้ามาดูแลมากน้อยเพียงใด สังคมจะดูแลกันเองได้หรือไม่ และความเป็นส่วนตัวอยู่ตรงไหนในพื้นที่สาธารณะ 0 0 0