52503518444_2a7f803855_o
อ่าน

เปิดแนวคำพิพากษาและประมวลความคืบหน้า คดีการแสดงออกต่อ “พระบรมฉายาลักษณ์และซุ้มเฉลิมพระเกียรติ”

การเผา – ทำลาย หรือการแสดงออกในรูปแบบอื่นๆ ต่อซุ้มเฉลิมพระเกียรติ เป็นการแสดงออกทางการเมืองรูปแบบหนึ่ง แม้ว่าก่อนหน้านั้นในยุคคสช. จะมีกรณีที่คล้ายกันเกิดขึ้นอย่างน้อยสองกรณี แต่ก็เป็นเหตุการณ์ที่อาจจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ทางการเมืองขณะนั้นโดยตรง และหนึ่งในนั้นมีคดีที่ผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทำความผิดเป็นคนที่มีอาการป่วยทางจิตที่น่าจะก่อเหตุเพราะอาการป่วย ไม่ได้ทำไปเพราะต้องการแสดงออกทางการเมือง
52063392829_4625204871_h
อ่าน

‘ยก 2 ลง 2’ เปิดคำพิพากษาคดี 112 นับถึงพฤษภาคม 2565

ความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นกฎหมายที่ถูกนำมาใช้ดำเนินคดีผู้ที่แสดงออกทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง คดีของอำพลหรือ ‘อากง SMS’ ดารณีหรือ ‘ดา ตอร์ปิโด’ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข คือตัวอย่างของคดีมาตรา 112 ที่เกิดขึ้นเป็นคดีแรกๆในช่วงปี 2551-2554 หลังการรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ถูกคณะรักษาความสงบแห่งชาตินำมาใช้อย่างเข้มข้นและเป็นระบบกับผู้ที่แสดงออกทางการเมืองจนทำให้ตลอดระยะเวลากว่า 5 ปี ที่คสช.อยู่ในอำนาจ มีคนถูกตั้งข้อกล่าวหาด้วยมาตรา 112 อย่างน้อย
photo1646357409
อ่าน

คุยกับนรินทร์ จำเลยคดีสติกเกอร์ กูKult: ความหวังที่มีก่อนมาศาล สูญสิ้นไปหลังการสืบพยาน

หลังการสืบพยานคดีประมวลกฎหมายอาญามาตรามาตรา 112 ของนรินทร์ ผู้ถูกกล่าวหาว่า ติดสติกเกอร์ กูkult ที่ศาลอาญาระหว่างวันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ และวันที่ 1 มีนาคม 2565 เสร็จสิ้นลง นรินทร์ได้เล่าให้ไอลอว์ฟังถึงความคิด ความเชื่อของเขาต่อกระบวนการยุติธรรมไทย ตั้งแต่ก่อนจะเริ่มเข้ากระบวนการสืบพยาน จนถึงจบการสืบพยาน และสิ่งที่เขาเตรียมตัวก่อนที่ศาลจะมีคำพิพากษาในคดีของเขาซึ่งเกิดขึ้นในระยะเวลาอันสั้นเพียงสามวันหลังการพิจารณาคดีนัดสุดท้าย ก่อนเข้ากระบวนการ: ยังเชื่อมั่นกับกระบวนการยุติธรรมไทยเพราะไม่เคยสัมผัสมาก่อน “ก่อนจะถึงการสืบ
IMG_1716
อ่าน

เก็บตกการสืบพยาน คดีติดสติกเกอร์ กูkult กับการต่อสู้คดีที่เต็มไปด้วยข้อจำกัด

วันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ และวันที่ 1 มีนาคม 2565 ศาลอาญารัชดานัดสืบพยานคดีประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ของ นรินทร์ คดีนี้จำเลยถูกกล่าวหาว่าติดสติกเกอร์ “กูkult” ซึ่งเป็นโลโก้เพจเสียดสีการเมืองเพจหนึ่งบนพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งติดตั้งอยู่ที่หน้าศาลฎีกาที่มีการชุมนุม #19กันยาทวงอำนาจคืนราษฎร หลังกระบวนการสืบพยานเสร็จสิ้นในวันที่ 1 มีนาคม 2565 ศาลอาญานัดฟังคำพิพากษาในวันศุกร์ที่ 4 มีนาคม 2565 ซึ่งเท่าที่ไอลอว์มีข้อมูล การนัดฟังคำพิพากษาคดีนี้น่าจะเร็วที่สุดในบรรดาคดีมาตรา 112 ที่พิจารณาโดยศาลอาญาและจำเลยให้การปฏิเสธ
51280399857_ea7c5c4c48_w
อ่าน

หน้ากากขาว กูKult และชีวิตที่ยากจะถึงฝันของนรินทร์

คนที่มีโอกาสไปร่วมการชุมนุมตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม 2563 จนถึงต้นปี 2564 อาจเคยพบเห็นคนรูปร่างผอมที่ปรากฎกายในพื้นที่ชุมนุมด้วยเสื้อยืดสีขาว บนหน้าอกมีสัญลักษณ์คล้ายนมเปรี้ยวบรรจุขวดยี่ห้อหนึ่งแต่ตัวหนังสือเขียนคำว่า “กูKult” ซึ่งเป็นชื่อเพจเฟซบุ๊กเสียดสีการเมืองแทนยี่ห้อนมเปรี้ยวชื่อดัง และที่โดดเด่นกว่าเสื้อยืดคงจะหนีไม่พ้นใบหน้าของเขาที่ซ่อนอยู่ใต้หน้ากากสีขาวที่ครั้งหนึ่งเคยถูกมาใช้เป็นสัญลักษณ์ของกลุ่มต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ที่ชุมนุมร่วมกับกลุ่ม กปปส.
48080128838_8e3ffbdc52_c
อ่าน

Report on political cases in NCPO era

Click the names&nb…
6be688ae63b5df352fd0b55e8e6e332c (Edited)
อ่าน

Unknown fate for 3 more Thai Dissidents.

On May 9th, 2019, a youtube video made by political refugee ‘Pieangdin Rakthai’, exposed the continuing crisis of missing Thai activists. Cheep Chivasuth known as Loong [Uncle] Sanam Luang, Siam Theerawut known as Sahai Kaoniao Mamuang and Kritsana Thapthai known as Sahai Young Blood, were identified as three more refugees that have gone missing.
Charges
อ่าน

Tables of minor offenses charged against individuals who expressed political opinion

Under the NCPO regime, the restrictions on freedom of expression were instituted through  ‘legal’ procedures, in the aim of legitimising the military government. These ‘laws’ include new laws and special announcements and orders issued under the NCPO government.