10 ข้อ สนับสนุน #ยกเลิก112 ทุกคนช่วยกันทำได้ทุกวัน
อ่าน

10 ข้อ สนับสนุน #ยกเลิก112 ทุกคนช่วยกันทำได้ทุกวัน

ท่ามกลางบรรยากาศความน่ากลัวของการบังคับกฎหมายที่มีขอบเขตไม่ชัดเจน จำนวนคดีที่เพิ่มขึ้นแทบจะทุกวันและดูเหมือนไม่มีที่สิ้นสุด ตลอดจนคำพิพากษาให้จำคุกที่ทยอยออกมาเรื่อยๆ ก่อนที่สังคมจะดำดิ่งไปสู่ความจำนนต่อสถานการณ์ ไอลอว์ชวนดูทางเลือก 10 ข้อ อยากสนับสนุน #ยกเลิก112 ทำอะไรได้บ้าง?
ครบ 1 เดือน คดีสาดสีพรรคประชาธิปัตย์ ไม่ได้ประกันตัว! 7 (+3) ทะลุฟ้า เตรียมไปศาล ตรวจพยานหลักฐาน 22 ส.ค. 65
อ่าน

ครบ 1 เดือน คดีสาดสีพรรคประชาธิปัตย์ ไม่ได้ประกันตัว! 7 (+3) ทะลุฟ้า เตรียมไปศาล ตรวจพยานหลักฐาน 22 ส.ค. 65

22 สิงหาคม 2565 ศาลอาญากำหนดนัดตรวจพยานหลักฐาน ในคดีที่ผู้ชุมนุมกลุ่มทะลุฟ้า 10 คน เป็นจำเลยจากการจัดชุมนุมเรียกร้องให้พรรคประชาธิปัตย์เลิกสนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา และถอนตัวจากการเป็นพรรคร่วมรัฐบาล เมื่อ 30 กรกฎาคม 2564 บริเวณหน้าที่ทำการพรรคประชาธิปัตย์ เขตพญาไท ซึ่งในคดีนี้ มีจำเลย 7 คนที่ไม่ได้รับการประกันตัวและถูกคุมขังมาเกินหนึ่งเดือนแล้วจะถูกเบิกตัวมาศาลเพื่อเข้าฟังการพิจารณาคดีด้วย เอกสารคำฟ้องในคดีระบุว่า ในวันจัดการชุมนุมดังกล่าว ผู้ชุมนุมทำกิจกรรมปาถุงสีแดงเข้าไปในบริเวณที่ทำการพรรค รวมทั้งมีกา
นักโทษการเมือง #ระลอก4 ยังคง “เข้า-ออก เรือนจำ” ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5
อ่าน

นักโทษการเมือง #ระลอก4 ยังคง “เข้า-ออก เรือนจำ” ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5

จนถึงวันที่ 19 สิงหาคม 2565 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกคุมขังระหว่างการสอบสวนและระหว่างที่คดียังไม่ถึงที่สุดอย่างน้อย 29 คน  นับจากกระแสเรียกร้องทางการเมืองรอบใหม่การคุมขังนักเคลื่อนไหวทางการเมืองเกิดขึ้นเป็นระลอกๆ ตามบรรยากาศการชุมนุมเรียกร้องที่ขยายตัวขึ้นและลง ในช่วงเวลานี้ถือเป็นระลอกที่สี่แล้ว ไล่เรียงมาตั้งแต่ (1) ช่วงเดือนตุลาคม 2563 (2) ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2564 (3) ช่วงเดือนสิงหาคม 2564  (4) หลังการทยอยปล่อยตัวแกนนำราษฎรเมื่อเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2565 ไม่นานนัก “คำสั่งคุมขัง” ก็กลับมาอ
บลูเบอร์รี่ชีสเค้ก ความสุขของ “คิม-ป่าน” ทะลุฟ้า สองผู้ต้องขังหญิงในเรือนจำ
อ่าน

บลูเบอร์รี่ชีสเค้ก ความสุขของ “คิม-ป่าน” ทะลุฟ้า สองผู้ต้องขังหญิงในเรือนจำ

ทสมา หรือ คิม และกตัญญู หรือ ป่าน เป็นสมาชิกกลุ่มทะลุฟ้าที่เป็นผู้หญิงสองคน ที่วันนี้ถูกคุมขังอยู่ในทัณฑสถานหญิงกลางโดยไม่ได้รับอนุญาตให้ประกันตัว ตั้งแต่วันที่ 19 กรกฎาคม 2564 จากคดีชุมนุมและสาดสีหน้าอาคารพรรคประชาธิปัตย์ เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2564 ซึ่งอัยการตั้งข้อหาฐานมั่วสุมก่อความวุ่นวาย ตามมาตรา 215, 216 และฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ โดยศาลให้เหตุผลว่าการกระทำเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบท ใช้ความรุนแรงทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคลอื่นโดยไม่มีเหตุอันสมควร จึงน่าเชื่อว่าหากให้ประกันตัวจะก่อให้เกิดภ
27 วันของ “แซม ทะลุฟ้า” ในเรือนจำ
อ่าน

27 วันของ “แซม ทะลุฟ้า” ในเรือนจำ

พรชัย ยวนยี หรือ “แซม ทะลุฟ้า” ถูกฝากขังในเรือนจำในคดีมาตรา 112 จากการเข้าร่วมการชุมนุม เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2564 โดยตำรวจกล่าวหาว่า แซมร่วมกันวางแผนเพื่อปาระเบิดเพลิงใส่พระบรมฉายาลักษณ์ที่อยู่บนสะพานลอยหน้าโรงเรียนราชวินิตแต่ไม่ลุกไหม้ เพราะก่อนเกิดเหตุมีฝนตกหนักทำให้ซุ้มเปียกชื้น แซมมีแผนการเดินทางไปต่างประเทศ จึงไปรายงานตัวเพื่อ “เคลียร์” หมายจับสำหรับการเดินทาง และถูกแจ้งว่า มีหมายจับในคดีนี้ เขาถูกฝากขังในเรือนจำตั้งแต่วันที่ 7 กรก
#ปล่อยเพื่อนเรา มีนักโทษการเมือง 30 คนในเรือนจำ
อ่าน

#ปล่อยเพื่อนเรา มีนักโทษการเมือง 30 คนในเรือนจำ

จนถึงวันที่ 21 กรกฎาคม 2565 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกคุมขังระหว่างการสอบสวนและระหว่างที่คดียังไม่ถึงที่สุดอย่างน้อย 30 คน นับจากกระแสเรียกร้องทางการเมืองรอบใหม่ หลังการชุมนุมของเยาวชนปลดแอกในปี 2563 การคุมขังนักเคลื่อนไหวทางการเมืองเกิดขึ้นเป็นระลอกๆ ตามบรรยากาศการชุมนุมเรียกร้องที่ขยายตัวขึ้นและลง ครั้งนี้ถือเป็นระลอกที่สี่แล้ว ไล่เรียงมาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563, เดือนกุมภาพันธ์ 2564, เดือนสิงหาคม 2564 และเดือนมีนาคม 2565 ในเดือนเมษายน 2565 มีการไต่สวนเพิกถอนสัญญาประกันของผู้ต้องหาคดีมาตรา 112 ทั้งสิ้น
บ้านทะลุฟ้าในคืนนี้ ไม่มีเสียงกวีของพี่แซม
อ่าน

บ้านทะลุฟ้าในคืนนี้ ไม่มีเสียงกวีของพี่แซม

“หมดจิตหมดใจจะใฝ่ฝัน การสร้างสรรค์ย่อมสิ้นแผ่นดินหมอง กลัวน้ำตาไหลหลั่งดั่งน้ำนอง ก็จะต้องเห็นแก่ตัวชั่วนิรันดร์…”    
บทเรียน 16 เดือนในเรือนจำ หลังการต่อสู้เพื่อ “พังระบบศาล” ของทนายประเวศ
อ่าน

บทเรียน 16 เดือนในเรือนจำ หลังการต่อสู้เพื่อ “พังระบบศาล” ของทนายประเวศ

“ทนายประเวศ” เป็นอดีตทนายความที่ช่วยเหลือคดีทางการเมือง ที่กลายมาเป็นผู้ต้องหาคดีมาตรา 112 และ 116 เสียเอง เขาถูกจับกุมในเดือนเมษายน 2560 หลังจากนั้นต้องใช้ชีวิตในเรือนจำเป็นเวลา 16 เดือนเต็ม ก่อนได้รับการปล่อยตัวกลับสู่ชีวิตตามปกติ คดีของทนายประเวศ สร้างความประหลาดใจให้กับทั้งศาล อัยการ เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ และบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคดีของเขา เมื่อทนายประเวศเขียนแถลงการณ์ส่งถึงศาล แบบ “พังระบบ” คือ ปฏิเสธไม่เข้าร่วมกระบวนการพิจารณาคดี โดยจะไม่ให้การต่อศาล ถอนทนายความ ไม่ถามค้านพยานโจทก์ ไม่นำสืบพยานจำเลย ไม่ลงชื่อในเอกสา