#สมรสเท่าเทียม : ย้อนดูการต่อสู้และชัยชนะของต่างประเทศ
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม : ย้อนดูการต่อสู้และชัยชนะของต่างประเทศ

ไม่ใช่แค่ในประเทศไทยที่ต่อสู้เพื่อสิทธิในการก่อตั้งครอบครัวอย่างเท่าเทียมกัน แต่อีกหลายประเทศทั่วโลกล้วนผ่านขั้นตอนการต่อสู้มาแล้ว บ้างไปถึงปลายทางของสมรสเท่าเทียม แต่จำนวนไม่น้อยยังคงเก็บชัยชนะระหว่างทางอยู่ 
#สมรสเท่าเทียม : ศาลรัฐธรรมนูญนัดลงมติ กฎหมายแพ่งสมรสเฉพาะชาย-หญิง ขัดรัฐธรรมนูญหรือไม่ 17 พ.ย. 64
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม : ศาลรัฐธรรมนูญนัดลงมติ กฎหมายแพ่งสมรสเฉพาะชาย-หญิง ขัดรัฐธรรมนูญหรือไม่ 17 พ.ย. 64

ศาลรัฐธรรมนูญมีกำหนดนัดแถลงด้วยวาจา ปรึกษาหารือ และลงมติว่าประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่รับรองการสมรสเฉพาะชาย-หญิง ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2564
จับเข่าพูดคุยฉลอง Pride Month: LGBTQI+ มีพื้นที่แค่ไหนในสังคม?
อ่าน

จับเข่าพูดคุยฉลอง Pride Month: LGBTQI+ มีพื้นที่แค่ไหนในสังคม?

10 มิถุนายน 2564 กลุ่ม Nitihub จัดงานเสวนาวิชาการออนไลน์ในหัวข้อ “LGBTQI+ มีพื้นที่แค่ไหนในสังคม ?” ประกอบด้วยวิทยากรหลักห้าคน ได้แก่ ศาสตราจารย์กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ รองศาสตราจารย์มาตาลักษณ์ เสรเมธากุล เคท ครั้งพิบูลย์ ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ศิริศักดิ์ ไชยเทศ และอัครวัฒน์ เลาวัณย์ศิริ พูดคุยกันถึงประเด็นปัญหาทางสังคม-กฎหมาย ที่ยังไม่เปิดพื้นที่แก่ LGBTQI
#สมรสเท่าเทียม: สำรวจหลักกฎหมายและร่าง พ.ร.บ.แก้ไขกฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรส
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม: สำรวจหลักกฎหมายและร่าง พ.ร.บ.แก้ไขกฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรส

เนื่องจากมีการเผยแพร่ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ชวนทุกคนมาสำรวจหลักกฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรสที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันว่า มีเนื้อหาอย่างไร และร่าง พ.ร.บ.ดังกล่าวจะทำให้เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางไหน เพื่อที่จะได้ส่งเสียงออกไปด้วยความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง
Pride Month: สำรวจ ร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต-กฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรส
อ่าน

Pride Month: สำรวจ ร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต-กฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรส

มิถุนายนถูกกำหนดให้เป็น Pride Month แต่ไทยก็ยังไม่มีกฎหมายรับรอง 'สิทธิในการก่อตั้งครอบครัว' ของผู้มีความหลากหลายทางเพศ หลายกลุ่มได้เริ่มผลักดันกฎหมายโดยมีอยู่ 2 แนวทางหลัก เสนอให้ยกร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต ออกมาเป็นกฎหมายแยก และแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ทบทวนบทเรียนการรายงานข่าวกับการเคารพศักดิ์ศรีของผู้มีความหลากหลายทางเพศ
อ่าน

ทบทวนบทเรียนการรายงานข่าวกับการเคารพศักดิ์ศรีของผู้มีความหลากหลายทางเพศ

27 มิถุนายน 2562 มูลนิธิมานุษยะและเครือข่ายจัดเวทีพูดคุยเรื่อง LGBTQI ในสื่อ : สื่อสารด้วยความเข้าใจและเท่าเทียม
พรรคมหาชน: เพื่อความเท่าเทียมของ LGBTs และสิทธิผู้ให้บริการทางเพศ
อ่าน

พรรคมหาชน: เพื่อความเท่าเทียมของ LGBTs และสิทธิผู้ให้บริการทางเพศ

พรรคมหาชนห่างหากจากการเมืองไทยไปนาน ในการเลือกตั้ง 2562 พรรคมหาชนก็กลับมาลงสมัครรับเลือกตั้งอีกครั้ง แต่คราวนี้พรรคมหาชนมาในภาพลักษณ์ใหม่ ดึงเอาคนดังที่เป็น "เกย์-กะเทย-ทอม-ดี้" หรือกลุ่ม LGBTs เข้าร่วมงานกับพรรคเป็นจำนวนมาก พร้อมชูนโยบายเพื่อสิทธิของชาว LGBTs "จากไทยไม่เท่ากัน สู่ไทยที่เท่าเทียม"  
ทลายกำแพงความหลากหลายทางเพศ ด้วยความเข้าใจ ผ่านภาพยนตร์ “It Gets Better ไม่ได้ขอให้มารัก”
อ่าน

ทลายกำแพงความหลากหลายทางเพศ ด้วยความเข้าใจ ผ่านภาพยนตร์ “It Gets Better ไม่ได้ขอให้มารัก”

15 กันยายน 2561 Amnesty International ประเทศไทย จัดฉายภาพยนตร์ “It Gets Better ไม่ได้ขอให้มารัก" เรื่องราวความรักโรแมนติคของเพศที่สาม เขียนบทและกำกับการแสดงโดย "ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์" พร้อมสนทนาพูดคุยเกี่ยวกับภาพยนตร์และประเด็นความหลากหลายทางเพศ กับผู้กำกับภาพยนตร์ ร่วมด้วย รศ.ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ 
อ่าน

ไม่มีพื้นที่สำหรับเยาวชนและ LGBT ร่วมกำหนดกฎหมาย-นโยบาย

งานเสวนาสาธารณะสตรี ที-ทอล์ค ครั้งที่ 2 วรรณพงษ์ ยอดเมือง กล่าวว่า เป็นไปไม่ได้เลยที่จะมีเยาวชนอยู่ใน สนช. อีกทั้งสัดส่วนของ สนช. ก็มีผู้หญิงเพียง 12 คน จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะมีความหลากหลายทางเพศอยู่ในนั้น
หลักเกณฑ์ ร่าง พ.ร.บ. รับรองเพศยังไม่ยึดโยงเจ้าของปัญหา
อ่าน

หลักเกณฑ์ ร่าง พ.ร.บ. รับรองเพศยังไม่ยึดโยงเจ้าของปัญหา

ล่าสุด ร่าง พ.ร.บ. การรับรองเพศ พ.ศ. … ยังอยู่ในกระบวนการรับฟังความเห็นของผู้มีส่วนได้-เสีย คาดว่าอาจมีการทำประชาพิจารณ์ฟังเสียงประชาชนปี 61-62 นักกิจกรรม ชี้ หลักเกณฑ์การรับรองเพศไม่ยึดโยงเจ้าของปัญหา เสนอแนะให้ร่างพ.ร.บ.การรับรองเพศควรรวดเร็ว-โปร่งใส–ง่ายต่อการเข้าถึง-มีกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน