#สมรสเท่าเทียม ยังไปต่อได้! ถ้าครม. ชุดหน้าขอให้สภาพิจารณาต่อ
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม ยังไปต่อได้! ถ้าครม. ชุดหน้าขอให้สภาพิจารณาต่อ

28 กุมภาพันธ์ 2566 จะเป็นวันปิดสมัยประชุมสุดท้ายของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่มาจากการเลือกตั้งปี 62 หากร่างกฎหมายใดที่พิจารณาไม่ทันสภาชุดนี้ ก็จะเป็นอันตกไป หนึ่งในร่างกฎหมายที่อาจพิจารณาไม่ทันคือ #สมรสเท่าเทียม อย่างไรก็ดี รัฐธรรมนูญ 60 ก็ยังเปิดช่องให้ร่างกฎหมายที่ตกไป มีทางไปต่อได้
สภารับหลักการร่างแก้กฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม และร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต จับตาต่อวาระสอง-สาม
อ่าน

สภารับหลักการร่างแก้กฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม และร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต จับตาต่อวาระสอง-สาม

15 มิถุนายน 2565 สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่างพ.ร.บ.แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม ซึ่งเสนอโดยส.ส.พรรคก้าวไกล และร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิตสองฉบับ หนึ่งฉบับเสนอโดยครม. อีกหนึ่งฉบับเสนอโดยส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ 
เทียบชัดๆ ร่างพ.ร.บ.แก้ประมวลกฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม ร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต ต่างกันยังไง?
อ่าน

เทียบชัดๆ ร่างพ.ร.บ.แก้ประมวลกฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม ร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต ต่างกันยังไง?

15 มิถุนายน 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม ที่เสนอโดยส.ส.พรรคก้าวไกล และร่างกฎหมายคู่ชีวิต 2 ฉบับ ซึ่งเสนอโดยครม. และส.ส.พรรคประชาธิปัตย์
แจกแจงประเด็นจากคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ไม่สนข้อกฎหมาย ไม่เข้าใจ #สมรสเท่าเทียม
อ่าน

แจกแจงประเด็นจากคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ไม่สนข้อกฎหมาย ไม่เข้าใจ #สมรสเท่าเทียม

2 ธ.ค. 2564 เว็บไซต์ศาลรัฐธรรมนูญเผยแพร่คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 20/2564 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.) มาตรา 1448 ที่รับรองการสมรสเฉพาะชาย-หญิง ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ชวนชำแหละเนื้อหาคำวินิจฉัยฉบับเต็ม ดูร่องรอยทัศนะคติของตุลาการที่มีต่อประชาชนเพศหลากหลาย
เปิดข้อเสนอภาคประชาชน แก้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ เดินหน้าผลักดัน #สมรสเท่าเทียม
อ่าน

เปิดข้อเสนอภาคประชาชน แก้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ เดินหน้าผลักดัน #สมรสเท่าเทียม

ภาคประชาชน ในนาม “ภาคีสีรุ้งเพื่อสมรสเท่าเทียม” ได้รวมตัวกันเพื่อเสนอร่างแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ ใช้กลไกเข้าชื่อเสนอกฎหมาย เพื่อเสนอ #สมรสเท่าเทียม ภาคประชาชน 
เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : ช้าง-เบิร์ด ทำงานและเสียภาษีแต่ไม่ได้รับสิทธิ ไม่ใช่เรื่องจารีต แต่เป็นความไม่เท่าเทียม
อ่าน

เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : ช้าง-เบิร์ด ทำงานและเสียภาษีแต่ไม่ได้รับสิทธิ ไม่ใช่เรื่องจารีต แต่เป็นความไม่เท่าเทียม

ก่อนศาลรัฐธรรมนูญจะมีมติว่าประมวลกฎหมายฯ ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ในวันที่ 17 พ.ย. 2564 ชวนรับฟังเสียงจาก “เบิร์ด” และ “ช้าง” คู่รักที่คบกันมานานถึง 15 ปี ใช้ชีวิตร่วมกัน ทำงาน จ่ายภาษี แต่ยังไร้กฎหมายที่จะมารับรองสนับสนุนสิทธิเสรีภาพของพวกเขา
เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : เตย-แคลร์ มากกว่าสิทธิ คือการสร้างความตระหนักรู้และพื้นที่ปลอดภัย
อ่าน

เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : เตย-แคลร์ มากกว่าสิทธิ คือการสร้างความตระหนักรู้และพื้นที่ปลอดภัย

เสียงจาก “เตย-แคลร์” คู่รักต่างสัญญาติ ที่จะมาบอกเล่าเรื่องราวความสัมพันธ์และความกังวลต่างๆ ภายใต้สังคมที่ยังไม่มีกฎหมายมารับรองสถานะเฉกเช่นเดียวกันกับคู่รักชาย-หญิงทั่วไป ก่อนศาลรัฐธรรมนูญมีมติในวันที่ 17 พ.ย. 2564 ว่าประมวลกฎหมายแพ่งฯ ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
มีลุ้น #สมรสเท่าเทียม นักวิชาการคาด ศาลรธน.อาจชี้ทางแก้กฎหมายแพ่ง ปลดล็อกข้อจำกัดสมรสเฉพาะชาย-หญิง
อ่าน

มีลุ้น #สมรสเท่าเทียม นักวิชาการคาด ศาลรธน.อาจชี้ทางแก้กฎหมายแพ่ง ปลดล็อกข้อจำกัดสมรสเฉพาะชาย-หญิง

อานนท์ มาเม้า และเข็มทองต้นสกุลรุ่งเรือง วิเคราะห์คำตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญ เนื่องในโอกาสที่ 17 พ.ย. 2564 ศาลรัฐธรรมนูญจะลงมติครั้งประวัติศาสตร์ ว่าประมวลกฎหมายแพ่งฯ มาตรา 1448 ที่กำหนดการสมรสเฉพาะชาย-หญิง ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ อันอาจนำไปสู่ #สมรสเท่าเทียม  
เปิดผลโพล #สมรสเท่าเทียม 99.9% เห็นด้วยให้มีกฎหมายรับรองสิทธิจดทะเบียนสำหรับเพศหลากหลาย
อ่าน

เปิดผลโพล #สมรสเท่าเทียม 99.9% เห็นด้วยให้มีกฎหมายรับรองสิทธิจดทะเบียนสำหรับเพศหลากหลาย

ไอลอว์เปิดแบบสอบถาม เช็คความคิดเห็นคนในสังคมเกี่ยวกับ #สมรสเท่าเทียม ก่อนศาลรัฐธรรมนูญมีมติว่าประมวลกฎหมายแพ่งฯ ขัดกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ในวันที่ 17 พ.ย. 64 ผู้ตอบแบบสอบถาม 99.9% เห็นด้วยให้มีกฎหมายรับรองสิทธิผู้มีความหลากหลายทางเพศ
เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : ลูกหมี-ซัน รักทางไกล ไม่ได้ขอสิทธิมากกว่าคู่รัก ชาย-หญิง
อ่าน

เสียงเพื่อ #สมรสเท่าเทียม : ลูกหมี-ซัน รักทางไกล ไม่ได้ขอสิทธิมากกว่าคู่รัก ชาย-หญิง

ก่อนศาลรัฐธรรมนูญจะมีมติว่าประมวลกฎหมายแพ่งฯ ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ในวันที่ 17 พ.ย. 2564 ชวนรับฟังเสียงจาก “ลูกหมี” และ “ซัน” ที่จะมาแชร์เรื่องราว มุมมอง สิ่งที่อยากบอกกับคนอื่นๆ และข้อเรียกร้องต่อรัฐสภาอันเป็นผู้แทนประชาชน