4 ตุลาฯ นี้ศาลลำปางนัด ‘ทิวากร’ ฟังคำพิพากษาคดี 116 กรณีหยั่งเสียงถามคนอยากทำประชามติเรื่องสถาบันกษัตริย์หรือไม่
อ่าน

4 ตุลาฯ นี้ศาลลำปางนัด ‘ทิวากร’ ฟังคำพิพากษาคดี 116 กรณีหยั่งเสียงถามคนอยากทำประชามติเรื่องสถาบันกษัตริย์หรือไม่

    26 สิงหาคม 2565 ศาลจังหวัดลำปางสืบพยานคดีตามประมวลกฎหมายอาญา 116 ของทิวากรแล้วเสร็จและนัดฟังคำพิพากษาในวันที่ 4 ตุลาคม 2565 เขาถูกกล่าวหาว่า ยุยงปลุกปั่นตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 116 การเปิดแคมเปญเชิญชวนให้ผู้ที่เห็นด้วยว่าควรมีการทำประชามติว่าจะคงไว้หรือยกเลิกสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มาร่วมลงชื่อในแคมเปญบนเว็บไซต์ change.org ที่เขาสร้างขึ้น ศาลจังหวัดลำปางนัดสืบพยานโจทก์และจำเลยระหว่างวันที่ 23-26 สิงหาคม 2565 รวมสี่วัน นำพยานเข้าสืบทั้งหมด
ปมร้อนราชภักดิ์: เมื่อการวิพากษ์วิจารณ์และตรวจสอบความโปร่งใสของอุทยานราชภักดิ์นำไปสู่การตั้งข้อหาความมั่นคง
อ่าน

ปมร้อนราชภักดิ์: เมื่อการวิพากษ์วิจารณ์และตรวจสอบความโปร่งใสของอุทยานราชภักดิ์นำไปสู่การตั้งข้อหาความมั่นคง

ความน่าสงสัยว่ามีการทุจริตในการก่อสร้างอุทยานราชภักดิ์  เป็นประเด็นที่คนในสังคมพูดถึงอย่างกว้างขวางในช่วงปลายปี 2558 ซึ่งกองทัพบกในฐานะผู้ดำเนินการจัดสร้าง ถูกตั้งคำถามและวิพากษ์วิจารณ์ มีการแชร์ข้อมูลบนโลกออนไลน์เกี่ยวกับความเป็นไปได้ของการทุจริต และผู้ที่น่าจะมีส่วนเกี่ยวข้องในการทุจริตอย่างแพร่หลาย ขณะเดียวกันก็มีประชาชนกลุ่มหนึ่งเดินทางไปตรวจสอบการทุจริตในสถานที่จริง โดยจัดกิจกรรม ส่องกลโกงอุทยานราชภักดิ์ ซึ่งในเวลาต่อมา มีคนจำนวนมาก ถูกควบคุมตัว ถูกจับกุม และถูกตั้งข้อหาจากการใช้เส
ชาญวิทย์: อุดมการณ์อันยาวนาน กับใบปลิวเอกสารที่รอการพิสูจน์
อ่าน

ชาญวิทย์: อุดมการณ์อันยาวนาน กับใบปลิวเอกสารที่รอการพิสูจน์

แม้ในปี 2558 ชาญวิทย์ จะมีอายุ 60 ปีแล้ว แต่เขาก็ยังคงเป็นคนที่มีความตื่นตัวทางการเมือง ไม่ต่างจากสมัยหนุ่มๆ ที่เคยร่วมเคลื่อนไหวในเหตุการณ์เดือนตุลา ทั้งปี 2516 และ 2519 จนต้องสูญเสียอิสรภาพ ในครั้งนี้ (ปี 2558) ชาญวิทย์ต้องสูญเสียอิสรภาพอีกครั้ง เมื่อใบปลิวที่เขาแจกในงานชุมนุมทางการเมืองที่ท่าน้ำนนท์ เมื่อปี 2550 ถูกมองว่าเข้าข่ายความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112     ชาญวิทย์เป็นชาวจังหวัดพัทลุง เขาจบการศึกษามัธยมปลาย จากโรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
“ยุยงปลุกปั่น” ตามมาตรา 116 ข้อหาเพื่อประโยชน์ทางการเมืองในยุครัฐบาลคสช.
อ่าน

“ยุยงปลุกปั่น” ตามมาตรา 116 ข้อหาเพื่อประโยชน์ทางการเมืองในยุครัฐบาลคสช.

ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 หรือข้อหา “ยุยงปลุกปั่น” เป็นกฎหมายที่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันมากนัก เพราะมีเหตุให้ใช้ไม่บ่อย แต่หลังการรัฐประหารในปี 2557 ข้อหานี้ถูกใช้มากขึ้นเรื่อยๆ ต่อกลุ่มคนที่แสดงความคิดเห็นทางการเมืองในทิศทางตรงข้ามกับรัฐบาลทหาร จนเข้าลักษณะเป็นการตั้งข้อหาเพื่อหวังผลทางการเมือง และตอกย้ำว่ากฎหมายมาตรานี้เป็นข้อหาที่อยู่คู่กับการปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองมาทุกยุคทุกสมัย    
ประชดประชันหรือปลุกปั่นยั่วยุ? คดีป้ายผ้าประเทศล้านนาและกฎหมายอาญามาตรา 116
อ่าน

ประชดประชันหรือปลุกปั่นยั่วยุ? คดีป้ายผ้าประเทศล้านนาและกฎหมายอาญามาตรา 116

“ประเทศนี้ไม่มีความยุติธรรม กูขอแยกเป็นประเทศล้านนา”   ช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ ถึง ต้นเดือนมีนาคม 2557 ป้ายไวนิลที่มีข้อความนี้ถูกติดตามสะพานลอยของหลายจังหวัดในภาคเหนือ เช่น เชียงราย พะเยา พิษณุโลก ช่วงเวลานั้น กลุ่ม กปปส.
การทรมาน: ชดเชย แต่ไม่ป้องกัน
อ่าน

การทรมาน: ชดเชย แต่ไม่ป้องกัน

ประเทศไทยยังไม่มีฐานความผิดตามกฎหมายที่มารองรับการกระทำ "ทรมาน" ซึ่งหลายองค์กรอยู่ระหว่างการผลักดันให้แก้ไขกฎหมาย แต่สิ่งที่ท้าทายคือ แม้มีความผิดฐานทรมานเพื่อเอาผิดเจ้าหน้าที่รัฐแล้ว จะทำอย่างไรให้ใช้ได้จริงในทางปฎิบัติ และจะป้องกันไม่ให้เกิดการทรมานได้หรือไม่
ภาครัฐเห็นค้าน ประชาชนขอตั้งองค์กรอิสระป้องกันการทรมาน
อ่าน

ภาครัฐเห็นค้าน ประชาชนขอตั้งองค์กรอิสระป้องกันการทรมาน

เสวนาดันร่าง พ.ร.บ.ต่อต้านการทรมานฯ อัยการไม่เห็นด้วยตั้งองค์กรอิสระใหม่ขึ้นมาโดยเฉพาะ กรมคุ้มครองสิทธิรับ “ยาก” ที่จะออกแบบกลไกใหม่ตามหลักระหว่างประเทศ