ทำความรู้จักกับร่างกฎหมายป้องกัน “คดีปิดปาก” ใครฟ้องมั่วอาจต้องจ่ายค่าเสียหาย
อ่าน

ทำความรู้จักกับร่างกฎหมายป้องกัน “คดีปิดปาก” ใครฟ้องมั่วอาจต้องจ่ายค่าเสียหาย

23 มกราคม 2568 กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นต่อร่างกฎหมายป้องกันฟ้องปิดปากฯ ซึ่งเป็นการจัดขึ้นครั้งที่ห้า ชวนทำความรู้จักกับร่างกฎหมายป้องกันการปิดปากครั้งนี้กันว่าสำคัญยังไง มีเนื้อหาอะไรบ้าง
ก้าวไกลเสนอ แก้วิ.แพ่ง+วิ.อาญา หวังหยุดคดี SLAPP “ปิดปากการมีส่วนร่วม”
อ่าน

ก้าวไกลเสนอ แก้วิ.แพ่ง+วิ.อาญา หวังหยุดคดี SLAPP “ปิดปากการมีส่วนร่วม”

10 กุมภาพันธ์ 2564 พรรคก้าวไกลเสนอชุดร่างกฎหมายคุ้มครองเสรีภาพในการแสดงออกและสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของประชาชนจำนวนห้าฉบับเข้าสู่สภา โดยสองฉบับจากชุดร่างกฎหมายดังกล่าว มีร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง และร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาอยู่ด้วย ทั้งสองฉบับเรียกได้ว่า มีวัตถุประสงค์เพื่อจะแก้ไขปัญหาการฟ้อง "คดีปิดปาก" ที่เกิดขึ้น
วงเสวนาฟ้องปิดปากชี้ แม้มีการออกกฎหมายเพื่อแก้ไขการฟ้องปิดปากแต่อาจจะไม่มีผลบังคับใช้ได้จริง
อ่าน

วงเสวนาฟ้องปิดปากชี้ แม้มีการออกกฎหมายเพื่อแก้ไขการฟ้องปิดปากแต่อาจจะไม่มีผลบังคับใช้ได้จริง

สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนจัดเสวนากลไกกฎหมายป้องกันการฟ้องปิดปากในประเทศไทย แม้ทางฝ่ายรัฐจะมีการเพิ่มข้อกฎหมายแต่อาจจะไม่มีผลบังคับใช้จริง
ยุคสมัยที่ใช้คดี “ปิดปาก” พูดเรื่องเขื่อน-แรงงาน-ซ้อมทรมาน-การเมือง ถูกฟ้องได้หมด
อ่าน

ยุคสมัยที่ใช้คดี “ปิดปาก” พูดเรื่องเขื่อน-แรงงาน-ซ้อมทรมาน-การเมือง ถูกฟ้องได้หมด

17 มิถุนายน 2562 สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนจัดงานเสวนาสถานการณ์การดำเนินคดี SLAPPs ที่เรียกกันเป็นชื่อเล่นว่า “คดีปิดปาก”
ไม่ใช่แค่ SLAPP ปิดปาก แต่กลั่นแกล้งด้วยกระบวนการยุติธรรม
อ่าน

ไม่ใช่แค่ SLAPP ปิดปาก แต่กลั่นแกล้งด้วยกระบวนการยุติธรรม

ในทางเสวนาเกี่ยวกับการฟ้องคดีปิดปาก หลายฝ่ายเห็นไปในทางเดียวกันว่า การปิดปากไม่ใช่แค่การ SLAPP แต่กระบวนการยุติธรรมทำให้คนที่ถูกฟ้องเดือดร้อน รู้สึกว่าเป็นภาระ เสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย กระบวนการยุติธรรมถูกใช้เป็นเครื่องมือต่อรอง อาจเรียกลักษณะแบบนี้ว่า Judicial Harassment
อ่าน

ศาลเสนอแก้ไขกฎหมาย ป.วิอาญา ป้องกัน ‘ประชาชนฟ้องแกล้งกัน’

17 เมษายน 2561 สุริยัณห์ หงษ์วิไล โฆษกศาลยุติธรรมออกมาเปิดเผยว่า สำนักงานศาลยุติธรรมมีการเสนอเเก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เพื่อป้องกันการใช้สิทธิฟ้องคดีอาญาโดยมีเจตนาไม่สุจริต โดยร่างกฎหมายดังกล่าวอยู่ในการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา และจะส่งให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป
Sasiwimol: Mother’s Day Without Mother
อ่าน

Sasiwimol: Mother’s Day Without Mother

Kamlang Kaw 1 The sentence at the top of an outbound letter from the prison dated 24 July 2015 reads, “It is only our bodies that are separated.” There are precisely 15 lines of text as prescribed by prison regulations. The letter holds a mother’s message of concern for her children: “My two daughters, how are you? What are you doing now? I really miss you. I really want to see your faces. Are you being naughty?  Especially Ice Thim, you definitely must be mischievous, am I right? Do you miss me?
ศศิวิมล: วันแม่ที่ไม่มีแม่อยู่
อ่าน

ศศิวิมล: วันแม่ที่ไม่มีแม่อยู่

โดย กำลังก้าว     จดหมายลงวันที่ 24 กรกฎาคม 2558 เดินทางออกมาจากเรือนจำ ในชื่อหัวว่า “เราห่างกันเพียงแค่ตัว” ที่ข้อความนับได้ 15 บรรทัดพอดีตามระเบียบของเรือนจำ ข้อความห่วงใยของแม่คนหนึ่งบอกเล่าถึงลูกๆ ว่า     “เป็นไงกันบ้าง 2 สาว ตอนนี้กำลังทำอะไรกันอยู่น๊า คิดถึงจังเลย อยากเห็นหน้าลูกสาวของแม่จัง ดื้อกันบ้างหร
นักวิชาการ ถก “รัฐไม่ควรข่มขู่เสรีภาพทางวิชาการ”
อ่าน

นักวิชาการ ถก “รัฐไม่ควรข่มขู่เสรีภาพทางวิชาการ”

หลัง กทค. ยื่นฟ้อง ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ และณัฏฐา โกมลวาทิน ทำให้เกิดเสียงวิจารณ์ว่าเป็นการข่มขู่และละเมิดสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของประชาชนในประเด็นสาธารณะ นักวิชาการกลุ่มหนึ่งร่วมกันจัดงานเสวนาเพื่อทวงหาเสรีภาพในทางวิชาการต่อการกระทำของ กทค.