ภาคประชาสังคมเปิดเวที ดันพรรคการเมืองผลักนโยบายสิทธิมนุษยชน
อ่าน

ภาคประชาสังคมเปิดเวที ดันพรรคการเมืองผลักนโยบายสิทธิมนุษยชน

ภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคม 16 องค์กรนำโดยแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย และกรีนพีซ ประเทศไทย ร่วมจัดเวที “เลือกตั้ง: ฟังเสียงนโยบายจากภาคประชาสังคม (Civil Society’s Agenda for the 2023 Thailand Election)”
เลือกตั้ง 66: ยุบสภาโค้งสุดท้าย ไม่ใช่การคืนอำนาจ แต่เป็นการ “ยื้อเวลา” ให้เลือกตั้งช้าลง (with English translation)
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ยุบสภาโค้งสุดท้าย ไม่ใช่การคืนอำนาจ แต่เป็นการ “ยื้อเวลา” ให้เลือกตั้งช้าลง (with English translation)

20 มี.ค. 66 มีการประกาศยุบสภา 3 วันก่อนหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่มาจากการเลือกตั้งปี 2562 จะครบกำหนด การประกาศในช่วงโค้งสุดท้าย มีผลต่อการกำหนดวันเลือกตั้ง ที่สามารถ “ยื้อเวลา” ออกไปได้ ต่างจากกรอบเวลาวันเลือกตั้งกรณีสภาหมดอายุที่สั้นกว่า
เลือกตั้ง 66: ส.ว. “งดออกเสียง” ไม่ช่วยอะไร แต่อาจเปิดทาง “นายกฯ นอกบัญชี”
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ส.ว. “งดออกเสียง” ไม่ช่วยอะไร แต่อาจเปิดทาง “นายกฯ นอกบัญชี”

 การ “งดออกเสียง” ของ ส.ว. ในการเลือกนายกรัฐมนตรีอาจจะดูเหมือนเป็นทางออกเพื่อการ “ปิดสวิชต์” ตัวเอง แต่ในความจริงแล้ว การงดออกเสียงจะทำให้ไม่มีแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีคนใด ได้เสียงถึง 376 เสียง และจะเป็นการ “วีโต้” ให้แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคที่ได้ ส.ส. เสียงข้างมาก ไม่อาจขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีได้
เลือกตั้ง 66: เช็คลิสต์ข้อห้ามของผู้สมัคร ส.ส. หาเสียงเลือกตั้ง อะไรทำได้-ไม่ได้
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เช็คลิสต์ข้อห้ามของผู้สมัคร ส.ส. หาเสียงเลือกตั้ง อะไรทำได้-ไม่ได้

ฤดูกาลหาเสียงปี 66 กำลังเข้มข้นภายใต้กฎเกณฑ์ของ กกต. ที่เข้มงวด มาช่วยกันทบทวนเช็คลิสต์แนวปฏิบัติของผู้สมัคร ส.ส. ว่าในการหาเสียงเลือกตั้ง อะไรที่ผู้สมัครและพรรคการเมืองทำได้อย่างปลอดภัย แล้วอะไรที่ทำให้โดนโทษหนักถึงยุบพรรค    
เลือกตั้ง 66: ย้อนดูผลเลือกตั้งเขตสูสีปี 62 สะท้อนทุกเสียงมีความหมาย
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ย้อนดูผลเลือกตั้งเขตสูสีปี 62 สะท้อนทุกเสียงมีความหมาย

ชวนดู 5 เขตเลือกตั้งที่สูสีที่สุดในการเลือกตั้งทั่วไป 2562 ซึ่งหลายหน่วยคะแนนห่างกันเพียงหลักหน่วยถึงร้อยกว่า ๆ เท่านั้น ถ้าคนออกไปเลือกตั้งมากขึ้นหรือเปลี่ยนใจเพียงหยิบมือ ก็อาจเปลี่ยนผลการเลือกตั้งได้ทันที
เลือกตั้ง 66: เปิดกฎหมายหาทางออก กรณี กกต. แบ่งเขตเลือกตั้งไม่ทันยุบสภา
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เปิดกฎหมายหาทางออก กรณี กกต. แบ่งเขตเลือกตั้งไม่ทันยุบสภา

หลังศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยว่า การคำนวนจำนวน ส.ส. จะต้องคำนวณโดยเอาเฉพาะจำนวนราษฎรที่มีสัญชาติไทยมาคำนวณเท่านั้น ส่งผลให้ กกต. ต้องคำนวณจำนวน ส.ส.ใหม่ และผลที่ตามมาคือ ต้องมีการแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ ซึ่งถ้ามีการยุบสภาในระหว่างที่การแบ่งเขตเลือกตั้งยังไม่แล้วเสร็จ ก็จะส่งผลให้ให้บางเขตไม่สามารถส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งได้ และเกิดภาวระสูญญากาศทางการเมือง
เลือกตั้ง 66: เปิดกฎหมายดูอนาคต “พรรค 3 ป.” หลังถูกกล่าวหาเกี่ยวข้องกับทุนสีเทา
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เปิดกฎหมายดูอนาคต “พรรค 3 ป.” หลังถูกกล่าวหาเกี่ยวข้องกับทุนสีเทา

ก่อนการเลือกตั้งในปี 2566 อุณหภูมิทางการเมืองเริ่มสูงขึ้น หลัง รังสิมันต์ โรม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) พรรคก้าวไกล ได้เปิดอภิปรายทั่วไปแบบไม่ลงมติเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 ว่า พรรครวมไทยสร้างชาติที่ประกาศสนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ตั้งที่ทำการพรรคอยู่บนที่ดินของบุคคลที่ใกล้ชิดกับขบวนการค้ายาเสพติดและฟอกเงินของกลุ่มทุนมินลัต ในขณะที่พรรคพลังประชารัฐที่นำโดย พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มทุนจีนสีเทาอย่าง 'ตู้ห่าว' หรือ ชัยณัฐร์ กรณ์ชายานันท์ ที่ได้บริจาคเงินให้กับพรรค ซึ่งทั้งสองกรณีเข่าข่ายจะถูกยุบพรรคได้ทั้งคู่
เลือกตั้ง 66: แก้ปัญหาถูกจุดแค่ไหน? เมื่ออดีตรองเลขาฯ กกต. ถูกชี้มูล ‘ผิดวินัยร้ายแรง’ จากกรณีส่งบัตรเลือกตั้งไม่ทันจนกลายเป็นบัตรเสีย
อ่าน

เลือกตั้ง 66: แก้ปัญหาถูกจุดแค่ไหน? เมื่ออดีตรองเลขาฯ กกต. ถูกชี้มูล ‘ผิดวินัยร้ายแรง’ จากกรณีส่งบัตรเลือกตั้งไม่ทันจนกลายเป็นบัตรเสีย

13 กุมภาพันธ์ 2566 นิวัติไชย เกษมมงคล เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ได้แถลงข่าวว่า คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติชี้มูลความผิด ณัฏฐ์ เล่าสีห์สวกุล อดีตเลขาธิการ กกต. กับพวกรวม 3 ราย ในความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการอันเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง จากการละเว้นไม่ดำเนินการรับมอบและติดตามบัตรเลือกตั้งล่วงหน้าจนเป็นเหตุให้เสียหายแก่สำนักงานอย่างร้ายแรง
เลือกตั้ง 66: ส่องนโยบาย “กระจายอำนาจ” ของพรรคการเมือง หลังสภาคว่ำร่างแก้รัฐธรรมนูญ #ปลดล็อกท้องถิ่น
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ส่องนโยบาย “กระจายอำนาจ” ของพรรคการเมือง หลังสภาคว่ำร่างแก้รัฐธรรมนูญ #ปลดล็อกท้องถิ่น

ในการเลือกตั้งที่เกิดขึ้นอย่างช้า ในปี 2566 มีพรรคการเมืองอย่างน้อยสองพรรค ได้แก่ พรรคเพื่อไทย และพรรคก้าวไกล ที่ประกาศนโยบายสนับสนุนการกระจายอำนาจ และลดการรวมศูนย์อำนาจของส่วนกลาง
ศาลรัฐธรรมนูญเคาะ ร่างกฎหมายเลือกตั้ง ส.ส. ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ เตรียมทูลเกล้าฯ ประกาศใช้
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญเคาะ ร่างกฎหมายเลือกตั้ง ส.ส. ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ เตรียมทูลเกล้าฯ ประกาศใช้

30 พฤศจิกายน 2565 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติวินิจฉัยว่า ร่างกฎหมายเลือกตั้งฯ ตราขึ้นโดยถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ และไม่มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ กระบวนการหลังจากนี้ นายกฯ นำร่างขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศเป็นกฎหมาย