Pitipong submitted three requests for removal the ex-NIA.
อ่าน

‘ปิติพงษ์’ ยื่นสามเรื่อง ขอถอดถอนอดีต สนช. ที่นั่งยาวเป็น ส.ว.

ปิติพงษ์ เต็มเจริญ อดีตโฆษกพรรคเสรีรวมไทย ยื่นหนังสือต่อประธาน กกต. ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน และประธานรัฐสภา เพื่อให้สามองค์กรส่งเรื่องต่อไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยความเป็นสมาชิกภาพของอดีต สนช.ที่ขณะนี้ดำรงตำแหน่ง ส.ว.และกรรมการ ป.ป.ช. ว่า ขาดคุณสมบัติตามกฎหมายและให้สิ้นสุดการปฏิบัติหน้าที่
50040027587_729d8f6507_o
อ่าน

ครช. เข้าพบ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญ ยืนยันต้องล้างมรดก คสช.

24 มิถุนายน 2563 เวลา 10.30 น. ภาคประชาชนนำโดยกลุ่ม ครช. ได้จัดกิจกรรม “ทวงคืนมรดกคณะราษฎร ทวงคืนสัญญารัฐธรรมนูญประชาชน” ณ บริเวณหน้าอาคารรัฐสภา เพื่อยื่นหนังสือทวงถามความคืบหน้าในการแก้รัฐธรรมนูญต่อ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ
Thai Constitution B.E. 2475 and B.E.2560's Comparison
อ่าน

88 ปีอภิวัฒน์สยาม: หลักการจากรัฐธรรมนูญฉบับแรก ที่ยังเหลือสู่ฉบับปัจจุบัน

เมื่อพิจารณาถึงเนื้อหาสาระของรัฐธรรมนูญฉบับแรกแล้ว แม้จะถูกบังคับใช้เพียงระยะเวลาสั้นๆ แต่ก็เต็มไปด้วยหลักคิดที่นำเสนอกลไกรับรองอำนาจของประชาชนที่น่าพิจารณาเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญ 2560 เพื่อให้เห็นระบอบการเมืองในฝันเมื่อวันนั้นที่ยังพอหลงเหลือหรือถูกทำลายไปแล้วในวันนี้
Thammanat and CONSTITUTIONAL COURT
อ่าน

จับตาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่พิจารณาคดีถอดถอน ร.อ.ธรรมนัส

17 มิถุนายน 2563 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติรับคำร้องขอให้วินิจฉัยสมาชิกภาพความเป็น ส.ส. และรัฐมนตรีของ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า เนื่องจากขัดกับรัฐธรรมนูญที่ห้ามผู้เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดในกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดมาดำรงตำแหน่ง ส.ส.และรัฐมนตรี ทั้งนี้ถือว่าเป็นคดีเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณสมบัตินักการเมืองคดีแรกของศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่ 4 คนที่เข้ารับตำแหน่งเมื่อ 1 เมษายน 2563  
International Agreement Law
อ่าน

ต้องรอบคอบแค่ไหนก่อนทำสัญญาระหว่างประเทศ? ความฝันประชาชน vs ข้อเสนอกระทรวงต่างประเทศ

กระทรวงต่างประเทศกำลังเสนอกฎหมายใหม่ กำหนดวิธีการฟังเสียงประชาชนเพื่อให้รัฐบาลไปตกลงทำสัญญาระหว่างประเทศ ให้เปิดช่องทางออนไลน์ จัดประชุม ทำโพล ฯลฯ แต่ให้เวลาอย่างน้อย 15 วัน ส่วนช่องทางอื่นๆ ที่ประชาชนเคยเสนอไว้ให้เปิดเผยข้อมูล เปิดเผยร่างสัญญา มีผู้สังเกตการณ์ หายไปหมดแล้ว
Comparison of Constitutional Courts
อ่าน

เปรียบเทียบที่มาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหลายประเทศ ไทยยัง ‘พิเศษ’ ที่ให้โควต้าข้าราชการ

ศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่หลักเป็นองค์กร ‘พิทักษ์รัฐธรรมนูญ’ คอยตรวจสอบว่า กฎหมายขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ ด้วยบทบาทที่กำหนดความเป็นไปทางการเมือง ทำให้สังคมตั้งคำถามถึงอำนาจที่ล้นเหลือของศาลรัฐธรรมนูญ และ “ที่มา” ของคนที่จะมาดำรงตำแหน่ง ตุลาการที่มาจากสายข้าราชการของไทยนั้นเป็นระบบเฉพาะตัวมากที่ไม่เหมือนระบบของประเทศอื่น 
wrong new normal
อ่าน

‘New Normal’ ทางกฎหมายแบบผิดๆ ผลพวงจากเวลา “6 ปี คสช.”

ภายใต้ยุคสมัยของ คสช. "กฎหมาย" ถูกหยิบมาใช้เป็นเครื่องมือสนองตอบอำนาจ ด้วยระยะเวลาที่ยาวนานทำให้เกิดความเคยชินที่เป็นอันตราย และเมื่อเข้าสู่ยุคสมัยของรัฐบาลที่ "พยายามจะมาจากการเลือกตั้ง" แนวทางการใช้กฎหมายแบบผิดๆ ยังคงสืบทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง 
1
อ่าน

6 ปี คสช.: มอง ‘ระบอบ คสช.’ ผ่าน 6 เสาค้ำจุนอำนาจ

22 พฤษภาคม 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) นำโดย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ยึดอำนาจรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการสถาปนาอำนาจ “ระบอบ คสช.” ที่พยายามเปลี่ยนผ่านอำนาจแบบเผด็จการเต็มใบไปสู่ระบอบเผด็จการซ่อนรูป ในวาระครบรอบ 6 ปี เราขอทบทวนโครงสร้างอำนาจที่ คสช. ถูกออกแบบไว้ให้คณะรัฐประหารสามารถอยู่กับสังคมไทยได้ไปอีกหลายปี
Constitutional court
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เปิดที่มาศาลรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี ลดจำนวนตุลาการสายวิชาการ เพิ่มข้าราชการ

ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจเกี่ยวพันกับการเมือง จึงเกิดคำถามถึงความยึดโยงกับประชาชน รัฐธรรมนูญ 2560 ให้มีตุลาการเก้าคน แบ่งเป็นผู้พิพากษาห้าคน ผู้ทรงคุณวุฒิสายวิชาการและสายราชการอย่างละสองคน ทั้งนี้ ที่มาของศาลรัฐธรรมนูญเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาตั้งแต่จัดตั้งครั้งแรกในรัฐธรรมนูญ 2540 โดยสัดส่วนผู้ทรงคุณวุฒิสายวิชาการลดลงจากห้าคนเหลือสองคนในรัฐธรรมนูญ 2560