ย้อนเหตุการณ์ สส. ถูกขับออกจากพรรค
อ่าน

ย้อนเหตุการณ์ สส. ถูกขับออกจากพรรค

พรรคก้าวไกลมีมติขับ ปดิพัทธ์ สันติภาดา สส. จังหวัดพิษณุโลก และรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ออกจากพรรค ตามกติกาของรัฐธรรมนูญ 2560 การขับ สส. ออกจากพรรคการเมืองนี้ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นครั้งแรก แต่เคยเกิดขึ้นมาแล้วหกครั้ง โดยมีเหตุผลทางการเมืองต่างกัน      
“ผิดมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง” เครื่องมือสอยนักการเมืองจากรัฐธรรมนูญ’60
อ่าน

“ผิดมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง” เครื่องมือสอยนักการเมืองจากรัฐธรรมนูญ’60

“มาตรฐานทางจริยธรรม” เป็นเครื่องมือในการสืบทอดอำนาจอีกชิ้นหนึ่งของ คสช. ที่เอาไว้ควบคุมนักการเมือง แม้โดยกฎหมายจะบังคับใช้กับศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระด้วยก็ตาม แต่อำนาจในการออกมาตรฐานทางจริยธรรม การดำเนินคดี และการลงโทษล้วนอยู่ในมือของศาลและองค์กรอิสระทั้งสิ้น นับจนถึงคดีล่าสุดของ พรรณิการ์ วานิช อดีต สส. พรรคอนาคตใหม่ มีนักการเมืองถูกตัดสินว่าผิดมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงแล้วจำนวนสี่คน
เลือกตั้งสองครั้งตามรัฐธรรมนูญ 2560 พรรคอันดับหนึ่งไม่เคยได้เป็นนายก!
อ่าน

เลือกตั้งสองครั้งตามรัฐธรรมนูญ 2560 พรรคอันดับหนึ่งไม่เคยได้เป็นนายก!

รัฐธรรมนูญ 2560 ได้วางกลไกสำคัญในการสืบทอดอำนาจให้อำนาจสมาชิกวุฒิสภา หรือ ส.ว. สามารถเลือกนายกรัฐมนตรีได้ นั่นจึงกลายเป็นปราการด่านสำคัญที่มีส่วนในการขวางพรรคอันดับหนึ่งจากการเลือกตั้ง ทั้งการเลือกตั้งในปี 2562 และการเลือกตั้งในปี 2566 จากการได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล
ทำความรู้จัก ส.ว.ชุดใหม่ พร้อมที่มาแบบใหม่โดยการให้ “เลือกกันเอง”
อ่าน

ทำความรู้จัก ส.ว.ชุดใหม่ พร้อมที่มาแบบใหม่โดยการให้ “เลือกกันเอง”

ส.ว.แต่งตั้งชุดพิเศษ 250 คน ใกล้จะหมดวาระในช่วงกลางปี 2567 และส.ว.ชุดใหม่ที่มาแบบใหม่เป็นส.ว.ตามบทหลักภายใต้รัฐธรรมนูญปี 2560 จะเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ต่อในฐานะสภาสูง แม้อำนาจตามบทเฉพาะกาล เช่น การเลือกนายก​​ฯ ร่วมกับส.ส. นั้นจะสิ้นผลไปตามส.ว.แต่งตั้งชุดแรก แต่อำนาจหลักอื่นๆ ยังคงมีอยู่เต็มมือ
ประธานสภาสำคัญยังไง? สำรวจคุณสมบัติ ที่มา และหน้าที่ตามกฎหมาย
อ่าน

ประธานสภาสำคัญยังไง? สำรวจคุณสมบัติ ที่มา และหน้าที่ตามกฎหมาย

ตำแหน่งประมุขฝ่ายนิติบัญญัติหรือประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นอีกหนึ่งตำแหน่งสำคัญในทางการเมือง เนื่องจากตำแหน่งนี้เป็นหนึ่งในสามอำนาจอธิปไตยของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และมีบทบาทสำคัญในการคุมทิศทางของรัฐสภา
พ.ร.ก.ถูกตีตก รัฐบาลในอดีตเคยรับผิดชอบมาแล้ว
อ่าน

พ.ร.ก.ถูกตีตก รัฐบาลในอดีตเคยรับผิดชอบมาแล้ว

ธรรมเนียมในอดีตของรัฐบาลที่ใช้อำนาจฝ่ายบริหารออก พ.ร.ก. โดยไม่ผ่านสภา และเวลาต่อมาถูกคว่ำนั้น จะต้องรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการยุบสภาหรือลาออก
ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัว
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัว

18 พฤษภาคม 2566 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติแปดต่อหนึ่ง ให้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการซ้อมทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ขัดรัฐธรรมนูญ โดยการอ้างเหตุความไม่พร้อมด้านงบประมาณและบุคลากร ไม่เข้าเงื่อนไขในการออก พ.ร.ก.
ประยุทธ์-ชวน ตัวตึงใช้เทคนิคยุบสภาก่อนครบวาระ ชิงความได้เปรียบก่อนเลือกตั้ง
อ่าน

ประยุทธ์-ชวน ตัวตึงใช้เทคนิคยุบสภาก่อนครบวาระ ชิงความได้เปรียบก่อนเลือกตั้ง

“การยุบสภา”  เป็นเครื่องมือหนึ่งของรัฐบาลในการถ่วงดุลอำนาจกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  ให้พ้นวาระก่อนครบกำหนด แต่การยุบสภาบางครั้งจุดประสงค์ที่แท้จริงอาจไม่ใช่การคืนอำนาจให้ประชาชน แต่อาจแฝงเล่ห์กลเพื่อช่วงชิงความได้เปรียบทางการเมืองบางอย่าง
เลือกตั้ง66:  เวลาที่เหลืออยู่ของ ส.ว.ชุดพิเศษ ทำอะไรได้บ้าง?
อ่าน

เลือกตั้ง66: เวลาที่เหลืออยู่ของ ส.ว.ชุดพิเศษ ทำอะไรได้บ้าง?

การเลือกตั้งครั้งน…
เลือกตั้ง66: สำรวจจุดยืน ส.ว.เลือกนายกฯ โหวตตามเสียงข้างมากหรือตามใจตัวเอง
อ่าน

เลือกตั้ง66: สำรวจจุดยืน ส.ว.เลือกนายกฯ โหวตตามเสียงข้างมากหรือตามใจตัวเอง

ไอลอว์รวบรวมคำให้สัมภาษณ์ของ ส.ว.ในช่วงใกล้การเลือกตั้ง เพื่อเป็นภาพสะท้อนของแนวคิด ส.ว.ว่าหลังเลือกตั้งจะลงคะแนนเสียงให้พรรคเสียงข้างมากหรือจะไม่ลงคะแนนจนนำมาสู่สภาวะทางตันทางการเมืองต่อไป