48705468501_a36c291791_b
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: ทำไมต้องตั้งกมธ. และจะนำไปสู่อะไร?

การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 เป็นประเด็นร้อนทางการเมืองทั้งในและนอกสภา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อสภาผู้แทนราษฎรจะมีการตั้ง “คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเพื่อศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560” หรือเรียกสั้นๆ ว่า “กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ” เพื่อศึกษาและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนก่อนที่จะเดินไปสู่ขั้นตอนการแก้ไขรัฐธรรมนูญจริงๆ
49127443701_b1d17ec629_o
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: ยกเลิก ‘มาตรา 279’ ลบล้างผลพวงรัฐประหาร

ในปัจจุบันสถานะของ คสช. จะสิ้นสุดลงไปแล้วหลังมีคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้ามาทำหน้าที่ แต่รัฐธรรมนูญ ปี 2560 ยังให้การรับรองการใช้อำนาจของ คสช. ที่ผ่านมาไว้อยู่ ทำให้การตรวจสอบอำนาจหรือลบล้าผลพวงจากการใช้อำนาจดังกล่าว หรือการเอาผิดการใช้อำนาจโดยมิชอบไม่สามารถกระทำได้ และอาจนำไปสู่การสร้างวัฒธรรม "ลอยนวลพ้นผิด" ที่ไม่มีใครต้องรับผิดชอบ  ด้วยเหตุนี้จึงเป็นที่มาของข้อเสนอทั้งจากพรรคการเมืองและภาคประชาชนที่เสนอให้ยกเลิกมาตรา 279 ของรัฐธรรมนูญเพื่อลบล้างผลพวงการรัฐประหารหรือบรรดาอำนาจและการกระทำของคณะรัฐประหาร 
Independence of Judges
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560 : รับรองความเป็นอิสระของผู้พิพากษา ไม่ห้ามผู้บังคับบัญชาตรวจสำนวน

หลักการ "ผู้พิพากษาต้องมีอิสระในการตัดสินคดี" อยู่ในรัฐธรรมนูญ 2560 แต่เมื่อเปรียบเทียบแล้ว ภายใต้รัฐธรรมนูญ 2540 ผู้พิพากษาได้รับการคุ้มครองความเป็นอิสระไว้ชัดเจนกว่า โดยคุ้มครองให้เป็นอิสระจากผู้บังคับบัญชา ห้ามเรียกคืนสำนวน และห้ามโยกย้ายผู้พิพากษาด้วย
49054289616_0cb4264da0_b
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สำรวจ ‘ตัวละคร’ ในเกมแก้รัฐธรรมนูญ

การแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ได้อยู่ในความสนใจของฝ่ายค้านแต่เพียงฝ่ายเดียว แม้แต่พรรคร่วมรัฐบาลอย่างพรรคประชาธิปัตย์ก็ "ออกตัวแรง" มาตั้งแต่ก่อนเลือกตั้ง แม้หลังเลือกตั้งจะเข้าร่วมรัฐบาลและเลือกพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ก็เตรียมผลักข้อเสนอของตัวเองด้วยเช่นกัน และเตรียมเสนอชื่อ 'อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ' อดีตหัวหน้าพรรค ให้เป็นประธาน กมธ.วิสามัญ แก้รัฐธรรมนูญ จนร้อนไปถึงพรรคพลังประชารัฐที่ต้องออกโรงคัดค้านและเตรียมเสนอชื่ออดีตกรรมการร่างรัฐธรรมนูญเข้าร่วม กมธ.ชุดดังกล่าว ด้วย 
49037707012_554f771eef_o
อ่าน

‘พรรคแตก’ จากการออกแบบระบบเลือกตั้ง เสี้ยม ส.ส.เขต-ปาร์ตี้ลิสต์

ายใต้รัฐธรรมนูญ ปี 2560 ที่นำทีมออกแบบโดยมีชัย ฤชุพันธุ์ มีการเปลี่ยนระบบเลือกตั้งแบบใหม่ เรียกว่า 'ระบบจัดสรรปันส่วนผสม' ซึ่งใช้บัตรเลือกใบเดียวเลือกทั้งพรรคทั้งคน ส่งผลให้พรรคการเมืองอ่อนแออย่างยากจะหลีกเลี่ยง ทำให้การเลือกของประชาชนกลับไปมุ่งเน้นตัวบุคคลมากกว่านโยบาย 
justice rights
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิในกระบวนการยุติธรรมตัดให้สั้นลง สิทธิมีทนายความหายไป

รัฐธรรมนูญ 2560 เขียนให้ "สั้น กระชับ" จึงไม่ได้ใส่หลักการหลายประการ สิทธิของประชาชนเมื่อเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม หลายเรื่องต้องไปดูในกฎหมายอื่น และบางเรื่องถูกโยกไปเป็น "หน้าที่ของรัฐ" ประเด็นสำคัญ คือ สิทธิของผู้ต้องหาที่จะได้รับการเยี่ยมถูกตัดออกไป และสิทธิที่จะมีทนายความไม่ใช่ของทุกคน แต่รัฐจัดให้ผู้ยากไร้    
Amend Constitution: 20 Thai Constitutions Have Been Successfully Amended 22 Time
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญไทย 20 ฉบับ แก้สำเร็จมาแล้ว 22 ครั้ง

"การแก้ไขรัฐธรรมนูญ" เป็นหัวข้อที่สังคมพูดถึงกัน แม้รัฐธรรมนูญปี 2560 จะแก้ไขยาก แต่ใช่ว่าจะเป็นไปไม่ได้เลย ระยะเวลา 87 ปี ที่ผ่านมา ตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง รัฐธรรมนูญเคยถูกแก้ไขสำเร็จมาแล้ว 22 ครั้ง ต่างกรรมต่างวาระด้วยกัน ซึ่งในยุคที่มีการเลือกตั้งแก้ไขรัฐธรรมนูญไปทั้งสิ้น 10 ครั้ง 
prolong power
อ่าน

วิวาทะจากสภา: “คสช. สืบทอดอำนาจ” ไม่ใช่วาทกรรม แต่เป็นรูปธรรม

ระหว่างการประชุมรัฐสภา ส.ส. ฝ่ายหนึ่งก็อภิปรายทำนองว่า คณะรัฐประหารอย่าง คสช. ต้องการ สืบทอดอำนาจ ขณะที่อีกกลุ่มหนึ่งก็บอกว่า การสืบทอดอำนาจไม่มีจริง เป็นเพียงวาทกรรมทางการเมือง ลองมาดูรัฐธรรมนูญและกฎหมายต่างๆ ว่า ยุคสมัยของ คสช. ได้วางกลไกให้ตัวเองมีอำนาจต่อหลังเลือกตั้งไว้อย่างไรบ้าง
-เริ่ม-เลือก-คสช
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: เริ่มโดยคสช. เลือกโดยคสช. เพื่อสืบทอดอำนาจให้ คสช.

ตามรัฐธรรมนูญ 2560 ระบุอำนาจหน้าที่ของ ส.ว. แต่งตั้งให้มีบทบาทสำคัญ จนอาจทำให้ ส.ส. ที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนไร้ความหมาย
สว-01
อ่าน

4 ข้อควรรู้ ส.ว. แต่งตั้ง

รายชื่อ สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) จำนวน 250 คน ประกาศอย่างเป็นทางการแล้ว มีคนหน้าซ้ำ เคยรับตำแหน่งในยุค คสช. ได้รับแต่งตั้งเป็น ส.ว.157 คน