เปิด 5 เรื่องเด่น นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ องคมนตรีคนล่าสุด
อ่าน

เปิด 5 เรื่องเด่น นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ องคมนตรีคนล่าสุด

จากที่เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้ประกาศแต่งตั้ง นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ เป็นองคมนตรี มาดูกันว่าชีวิตของนุรักษ์ตั้งแต่ก่อนเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งได้เป็นองคมนตรี มีผลงานเด่นๆ อะไรบ้าง
NHRCT TN
อ่าน

เปิดรายชื่อผู้สมัครเป็นกรรมการสิทธิฯ พบชื่ออดีต สนช., สปท. ‘สุเทพ’ ขอฝากหนึ่งชื่อ

การสรรหาผู้ที่จะมาเป็นคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ชุดที่สี่ยังลุ่มๆ ดอนๆ เมื่อเปิดรับสมัครใหม่และเห็นรายชื่อผู้สมัครแล้ว พบคนหน้าเก่าที่อยู่กับแวดวงองค์กรอิสระ และยังมีหลายคนที่เกี่ยวโยงกับเครือข่ายของ คสช. ไอลอว์จึงอยากชวนจับตามองกระบวนการคัดเลือก กสม. ที่กำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้
iLaw FIDH UCL join follow up statement  on Thailand ICCPR review
อ่าน

รัฐบาลไทยได้ละเลยการแก้ไขปัญหาสิทธิมนุษยชนตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ

สหพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน และโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน เสนอรายงานเงาฉบับที่ 2 ต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ชี้รัฐบาลไทยละเลยการปฏิบัติตามคำแนะนำ ทั้งในประเด็นรัฐธรรมนูญที่ยังคงรับรองความชอบด้วยกฎหมายของประกาศและคำสั่ง คสช. ประเด็นการฆ่านอกระบบ การซ้อมทรมาน และการบังคับสูญหายที่ไม่มีการนำตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษอย่างจริงจัง รวมทั้งประเด็นสภาพความเป็นอยู่ในเรือนจำที่ไม่ได้มาตรฐานสากล
49776278991_15244f5f45_o
อ่าน

วงเสวนาชี้ วิกฤติโควิด-19 สะท้อนภาวะอ่อนแอของรัฐธรรมนูญปี 60

ในวิกฤติการระบาดของโรคโควิด-19 ได้สะท้อนให้เห็นจุดอ่อนของรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ที่ออกแบบมาให้พรรคการเมืองที่เป็นรัฐบาลขาดความชอบธรรมเพราะไม่ใช่พรรคที่มีตัวแทนมากที่สุดในสภา และการต้องไปรวมเสียงกับพรรคเสียงข้างน้อยยิ่งทำให้รัฐบาลอ่อนแอ ไม่เป็นเอกภาพ เมื่อผนวกกับรัฐราชการรวมศูนย์ยิ่งทำให้การตอบสนองปัญหาของประชาชนไม่สมบูรณ์ ขณะเดียวกัน วิกฤติโควิดยังทำให้ต้องพิจารณาทบทวนแนวคิดเรื่องรัฐสวัสดิการ และการพัฒนาอย่างยั่งยืนและมุ่งเน้นการมีส่วนร่วม
Thumbnail สิทธิแสดงออก
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เสรีภาพการแสดงความเห็น-วิชาการ-สื่อมวลชน ตั้งแต่ปี 40 หลักการเดิม แต่รายละเอียดเปลี่ยน

เทียบเสรีภาพการแสดงออกในรัฐธรรมนูญถาวรสามฉบับตั้งแต่ปี 2540 พบว่า หลักการเหมือนกันแต่รายละเอียดเปลี่ยนไป รัฐธรรมนูญ​ 2560 ตัดความเป็นส่วนตัว สิทธิครอบครัว สุขภาพจิต จากข้อยกเว้นการใช้เสรีภาพการแสดงความคิดเห็น ตัดการคุ้มครองการสอน อบรม วิจัย จากเสรีภาพทางวิชาการ และรับรองเสรีภาพของสื่อกว้างๆ ว่า “บุคคลที่ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชน”
Pornpet with Mask
อ่าน

วิกฤติโควิด 19 ส.ว.เป็นฝ่ายนิติบัญญัติไม่นิ่งเฉย ยังทำงาน “สังคมสงเคราะห์” ด้วย

วุฒิสภา โดยหลักการแล้วเป็นองค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ ซึ่งมีอำนาจหน้าที่สำคัญในการตรวจสอบฝ่ายบริหาร ช่วงวิกฤติโรคโควิด ส.ว.หลายคนเลือกทำกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือสถานการณ์นอกอำนาจหน้าที่ โดยเน้นไปที่งานสังคมสงเคราะห์ ลองดูกิจกรรมของพวกเขาเทียบกับเงินเดือนที่ได้รับ
ส.ว. กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่ง
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: ส.ว.กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่งในองค์กรของรัฐและองค์กรอิสระ

ตามรัฐธรรมนูญ 2560 สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ชุดแรก จำนวน 250 คน ทั้งหมดถูกเลือกและแต่งตั้งโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และมีวาระในการดำรงตำแหน่งยาวนานถึงห้าปี มาดูกันว่า ตั้งแต่เปิดประชุมวุฒิสภา วันที่ 24 พฤษภาคม 2562 จนถึงขณะนี้ที่ระยะเวลาผ่านไปเกือบ 2 ปีของการดำรงตำแหน่ง ส.ว.ให้ความเห็นชอบผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรใดบ้าง และเห็นชอบใครไปแล้วบ้าง
4 Model of Constitution Drafting Assembly
อ่าน

เปิด 4 โมเดล “สสร.” เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน

ในปี 2563 ทั้งภาคประชาชนและกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษาจากทั่วประเทศ ได้มีข้อเสนออย่างหนึ่งที่ตรงกันว่า ต้องการให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือ สสร. ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน แต่ทว่ายังไม่มีรายละเอียดของรูปแบบและวิธีการได้มาซึ่ง สสร.
Labour Right Weak Not Guarantee Minimum wage across country
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิแรงงานอ่อนแอ ไม่ประกันค่าแรงขั้นต่ำเท่ากันทั่วประเทศ

ผู้ใช้แรงงานซึ่งเป็นกำลังหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศย่อมได้รับการคุ้มครองสิทธิตามรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้รัฐธรรมนูญ 2560 ใช้ข้อความว่า ให้แรงงานได้รับค่าแรงที่เหมาะสมแก่การดำรงชีพ