คณะกรรมการสรรหาฯ อ้างบทเฉพาะกาล พ.ร.ป.ศาลรธน ให้ “วรวิทย์” อยู่ต่อจนครบ 9 ปี แม้วาระตามกฎหมายมีแค่ 7 ปี
อ่าน

คณะกรรมการสรรหาฯ อ้างบทเฉพาะกาล พ.ร.ป.ศาลรธน ให้ “วรวิทย์” อยู่ต่อจนครบ 9 ปี แม้วาระตามกฎหมายมีแค่ 7 ปี

คณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ พิจารณาปมวาระการดำรงตำแหน่งวรวิทย์ กังศศิเทียม มีอายุครบ 70 ปี ตามรัฐธรรมนูญ 2550
89 ปีอภิวัฒน์สยาม: ย้อนดู “คำปรารภ” รัฐธรรมนูญไทย บอกเล่าอะไรบ้าง?
อ่าน

89 ปีอภิวัฒน์สยาม: ย้อนดู “คำปรารภ” รัฐธรรมนูญไทย บอกเล่าอะไรบ้าง?

ในโอกาสครบรอบ 89 ปี เปลี่ยนแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นประชาธิปไตย ชวนย้อนดูคำปรารภในรัฐธรรมนูญไทยตั้งแต่ฉบับแรกจนถึงฉบับปัจจุบัน ว่าคำปรารภรัฐธรรมนูญเหล่านั้นบอกเล่าเรื่องอะไรบ้าง และ “ประชาชน” มีพื้นที่มากแค่ไหนในคำปรารภรัฐธรรมนูญ   
จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์
อ่าน

จาก 40 ถึง 60 เปรียบเทียบบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์

เมื่อย้อนดู หมวด 2 พระมหากษัตริย์ที่กำลังกลายเป็นประเด็นต้องห้ามแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ก็ได้กำหนดแตกต่างจากอดีต เรียกได้ว่าการแก้ไขหมวด 2 มีมาอย่างต่อเนื่องก่อนหน้านี้ และมีลักษณะเป็นการขยายพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ให้เพิ่มมากขึ้นกว่าในอดีต
“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”
อ่าน

“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”

เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2560 สามด้าน คือ การศึกษา สุขภาพ และผู้สูงอายุ พบว่า ทั้งสามฉบับมีการกำหนดโครงสร้างด้าน “สวัสดิการ” ไว้บ้าง แต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “การสงเคราะห์ ช่วยเหลือ” มากกว่าที่จะกำหนดให้เป็นสิทธิของประชาชน
ปัญหารัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิเสรีภาพที่อยู่ภายใต้ “ความมั่นคงของรัฐ”
อ่าน

ปัญหารัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิเสรีภาพที่อยู่ภายใต้ “ความมั่นคงของรัฐ”

รัฐธรรมนูญ 2560 แม้จะรับรองหลักความเสมอภาค หลักห้ามเลือกปฏิบัติ และสิทธิเสรีภาพไว้หลายประการ ทว่าก็ยังขาดความชัดเจนในบางประเด็น รายละเอียดหลายประการที่เปลี่ยนแปลงไปจากรัฐธรรมนูญในอดีต และยังเต็มไปด้วยข้อจำกัดมากมาย ที่ส่งผลให้การใช้สิทธิเสรีภาพของประชาชนยังต้องอยู่ภายใต้ "ความมั่นคงของรัฐ"
ต้องรอบคอบแค่ไหนก่อนทำสัญญาระหว่างประเทศ? ความฝันประชาชน vs ข้อเสนอกระทรวงต่างประเทศ
อ่าน

ต้องรอบคอบแค่ไหนก่อนทำสัญญาระหว่างประเทศ? ความฝันประชาชน vs ข้อเสนอกระทรวงต่างประเทศ

กระทรวงต่างประเทศกำลังเสนอกฎหมายใหม่ กำหนดวิธีการฟังเสียงประชาชนเพื่อให้รัฐบาลไปตกลงทำสัญญาระหว่างประเทศ ให้เปิดช่องทางออนไลน์ จัดประชุม ทำโพล ฯลฯ แต่ให้เวลาอย่างน้อย 15 วัน ส่วนช่องทางอื่นๆ ที่ประชาชนเคยเสนอไว้ให้เปิดเผยข้อมูล เปิดเผยร่างสัญญา มีผู้สังเกตการณ์ หายไปหมดแล้ว
สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เปิดที่มาศาลรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี ลดจำนวนตุลาการสายวิชาการ เพิ่มข้าราชการ
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เปิดที่มาศาลรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี ลดจำนวนตุลาการสายวิชาการ เพิ่มข้าราชการ

ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจเกี่ยวพันกับการเมือง จึงเกิดคำถามถึงความยึดโยงกับประชาชน รัฐธรรมนูญ 2560 ให้มีตุลาการเก้าคน แบ่งเป็นผู้พิพากษาห้าคน ผู้ทรงคุณวุฒิสายวิชาการและสายราชการอย่างละสองคน ทั้งนี้ ที่มาของศาลรัฐธรรมนูญเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาตั้งแต่จัดตั้งครั้งแรกในรัฐธรรมนูญ 2540 โดยสัดส่วนผู้ทรงคุณวุฒิสายวิชาการลดลงจากห้าคนเหลือสองคนในรัฐธรรมนูญ 2560
สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เสรีภาพการแสดงความเห็น-วิชาการ-สื่อมวลชน ตั้งแต่ปี 40 หลักการเดิม แต่รายละเอียดเปลี่ยน
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เสรีภาพการแสดงความเห็น-วิชาการ-สื่อมวลชน ตั้งแต่ปี 40 หลักการเดิม แต่รายละเอียดเปลี่ยน

เทียบเสรีภาพการแสดงออกในรัฐธรรมนูญถาวรสามฉบับตั้งแต่ปี 2540 พบว่า หลักการเหมือนกันแต่รายละเอียดเปลี่ยนไป รัฐธรรมนูญ​ 2560 ตัดความเป็นส่วนตัว สิทธิครอบครัว สุขภาพจิต จากข้อยกเว้นการใช้เสรีภาพการแสดงความคิดเห็น ตัดการคุ้มครองการสอน อบรม วิจัย จากเสรีภาพทางวิชาการ และรับรองเสรีภาพของสื่อกว้างๆ ว่า “บุคคลที่ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชน”
เปิด 4 โมเดล “สสร.” เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
อ่าน

เปิด 4 โมเดล “สสร.” เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน

ในปี 2563 ทั้งภาคประชาชนและกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษาจากทั่วประเทศ ได้มีข้อเสนออย่างหนึ่งที่ตรงกันว่า ต้องการให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือ สสร. ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน แต่ทว่ายังไม่มีรายละเอียดของรูปแบบและวิธีการได้มาซึ่ง สสร.