กักตุนสินค้าควบคุม หน้ากากอนามัย-เจลล้างมือ ช่วงโควิด-19 เสี่ยงคุก 7 ปี
อ่าน

กักตุนสินค้าควบคุม หน้ากากอนามัย-เจลล้างมือ ช่วงโควิด-19 เสี่ยงคุก 7 ปี

“โควิด-19” ระบาด ทำให้เกิดการกักตุนสินค้าอุปโภค บริโภค และอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จำเป็น จนสินค้าบางชนิดขาดตลาด ทั้งนี้ พ.ร.บ.ราคาสินค้าและบริการ ให้อำนาจ รมว.พาณิชย์ประกาศควบคุมสินค้าและบริการได้ โดยถ้ากักตุนสินค้าควบคุมเกินกำหนดมีโทษสูงสุดจำคุกถึง 7 ปี หรือปรับ 140,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: ทำความเข้าใจกฎหมายที่ใช้รับมือโควิด-19
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: ทำความเข้าใจกฎหมายที่ใช้รับมือโควิด-19

25 มีนาคม 2563 พล.อ.ประยุทธ์ได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร และใช้ถึงวันที่ 30 เมษายน 2563 ซึ่งให้อำนาจนายกฯ ในการสั่งการหน่วยงานต่างๆ เพื่อรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน รวมถึงการออกข้อกำหนดในการกำหนดเรื่องการเดินทาง หรือกำหนดเวลาเข้าออกจากบ้าน รวมถึงการกำกับและควบคุมการนำเสนอข้อมูลข่าวสารได้อีกด้วย
โควิด-19 ระบาด ผู้ว่าฯ สั่งปิดสถานที่ได้ชั่วคราวในกรณีจำเป็นเร่งด่วน
อ่าน

โควิด-19 ระบาด ผู้ว่าฯ สั่งปิดสถานที่ได้ชั่วคราวในกรณีจำเป็นเร่งด่วน

พ.ร.บ.โรคติดต่อฯ ให้อำนาจเจ้าหน้าที่แยกกัก กักกัน หรือคุมไว้สังเกต ผู้ที่เป็นหรือสงสัยว่าเป็นโรคโควิด-19 ได้ ขณะที่ผู้ว่าราชการจังหวัด/กรุงเทพมหานครมีอำนาจสั่งปิดสถานที่