รู้จัก “ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์” ผ่านกฎหมายจัดตั้งที่เขียนในยุค คสช.
อ่าน

รู้จัก “ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์” ผ่านกฎหมายจัดตั้งที่เขียนในยุค คสช.

ในยุคสภาแต่งตั้ง สนช. ได้ออกพ.ร.บ.เพื่อจัดตั้งราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ขึ้นในปี 2559 และแก้ไขโครงสร้างตำแหน่งสำคัญในปี 2560 ด้วยเสียงเอกฉันท์ทั้งสองรอบ โดยให้เป็นองค์การมหาชน ไม่ใช่ส่วนราชการ มีระบบบริหารงานอิสระ ได้รับงบประมาณจากรัฐ ก่อนจะออกประกาศให้มีบทบาทจัดการวัคซีนโควิดในปี 2564
สลัมสี่ภาคขอรัฐลดงบซื้ออาวุธนำเงินแก้ไขโควิด 19 และชะลอคดีไล่รื้อที่ของรฟท.
อ่าน

สลัมสี่ภาคขอรัฐลดงบซื้ออาวุธนำเงินแก้ไขโควิด 19 และชะลอคดีไล่รื้อที่ของรฟท.

ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ชาวชุมชนแออัดเป็นอีกหนึ่งกลุ่มที่ได้รับผลกระทบในครั้งนี้และยังมีการแพร่ระบาดในพื้นที่ชุมชน ส่งผลให้ประชาชนต้องตกอยู่ในสภาวะเปราะบาง เครือข่ายสลัมสี่ภาคที่ทำงานกับประชาชนเหล่านี้จึงได้ออกมาเรียกร้องต่อรัฐบาลในหลายประเด็น หนึ่งในนั้นคือการลดงบประมาณจัดซื้ออาวุธและนำเงินส่วนดังกล่าวมาใช้ในการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโควิด 19
FAQ : การป้องกันและการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ในเรือนจำ
อ่าน

FAQ : การป้องกันและการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ในเรือนจำ

การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในเรือนจำยังคงน่าเป็นห่วง องค์การอนามัยโลก เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมโรคในเรือนจำที่น่าสนใจ โดนระบุด้วยว่า การปล่อยตัวบุคคลโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ถูกกักขังจากการกระทำผิดกฎหมายที่ไม่ได้รับการยอมรับภายใต้หลักกฎหมายสากล ควรได้รับความสำคัญเป็นลำดับแรก
โควิดระลอก 3 : ปล่อยผู้ต้องขังลดความแออัดของเรือนจำ
อ่าน

โควิดระลอก 3 : ปล่อยผู้ต้องขังลดความแออัดของเรือนจำ

ท่ามกลางสถานการณ์ที่ไวรัสโควิด-19 กำลังแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว รัฐบาลบางประเทศได้ตัดสินใจปล่อยผู้ต้องขังในเรือนจำบางส่วนเพื่อลดความแออัดในพื้นที่อันเป็นเงื่อนไขสำคัญที่มีผลต่อการแพร่กระจายของไวรัส 
ชุมนุม 64 : บททดสอบของราษฎรยามเพื่อนถูกจองจำ
อ่าน

ชุมนุม 64 : บททดสอบของราษฎรยามเพื่อนถูกจองจำ

กระแสการชุมนุมในปี 2564 ดูผิวเผินเหมือนจะลดความร้อนแรงลงด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ระลอก 2 ที่เกิดขึ้นในช่วงเดือนธันวาคม 2563 ราษฎรในฐานะผู้จัดการชุมนุมหลักพยายามปรับเปลี่ยนรูปแบบไปตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคเช่น จัดกิจกรรมให้กำลังใจผู้ถูกดำเนินคดีผ่านโปรแกรมซูม (Zoom) และจัดการปราศรัยในพื้นที่เป้าหมายแบบไม่นัดมวลชนให้มาร่วมและเผยแพร่ผ่านโซเชียลมีเดียและสื่อมวลชนแทน
ข้อห้ามชุมนุมตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่ไม่ชัดเจน ปราบโรคไม่อยู่ ปราบชุมนุมด้วยกำลัง
อ่าน

ข้อห้ามชุมนุมตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่ไม่ชัดเจน ปราบโรคไม่อยู่ ปราบชุมนุมด้วยกำลัง

25 มีนาคม 2563 พลเอกประยุทธ์ อาศัยอำนาจตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินฯ เพื่อยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และสถานการณ์การบังคับใช้กฎหมายซ้ำซ้อนเพื่อควบคุมการชุมนุมก็กลับมาอีกครั้ง
การสลายการชุมนุมและการประกอบสร้างความรุนแรง
อ่าน

การสลายการชุมนุมและการประกอบสร้างความรุนแรง

1 มกราคม- 15 มีนาคม 2564 มีการชุมนุมเกิดขึ้นไม่น้อยกว่า 160 ครั้ง   โดยวัตถุประสงค์ส่วนใหญ่คือ การเรียกร้องเรื่องการปล่อยตัวนักกิจกรรมทางเมืองและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับโควิด 19 
“เราช่วยรัฐ แล้วรัฐช่วยอะไร?” | ส่องข้อเรียกร้อง ‘ปัญหาปากท้อง’ จาก 6 กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากมาตรการโควิด-19
อ่าน

“เราช่วยรัฐ แล้วรัฐช่วยอะไร?” | ส่องข้อเรียกร้อง ‘ปัญหาปากท้อง’ จาก 6 กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากมาตรการโควิด-19

ตั้งแต่เดือนมกราคม 2564 เรื่อยมามีกลุ่มสาขาอาชีพต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการโควิด-19 ออกมาส่งเสียงเรียกร้องการเยียวยาแก้ปัญหาจากภาครัฐเป็นจำนวนมาก
รับมือโควิดในเนเธอร์แลนด์: ควบคุมโรคแบบ “ชิลๆ” ที่ร็อตเตอร์ดัม
อ่าน

รับมือโควิดในเนเธอร์แลนด์: ควบคุมโรคแบบ “ชิลๆ” ที่ร็อตเตอร์ดัม

ประเทศเนเธอร์แลนด์เลือกใช้มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของ covid-19 ด้วยวิธีการผ่อนคลาย เพราะเชื่อว่าประชาชนของพวกเขามีความรับผิดชอบเพียงพอจนรัฐไม่ต้องชี้นิ้วสั่ง รวมทั้งเชื่อว่าการควบคุมไวรัสแบบผ่อนคลายจะทำให้เศรษฐกิจของประเทศไม่พังทลาย ที่น่าสนใจคือมาตรการเยียวยาของที่นี่ไม่ได้จำกัดอยู่แค่พลเมืองดัชต์แต่รวมถึงผู้อพยพหรือชาวต่างชาติที่ทำงานเสียภาษีให้รัฐด้วย