เปิดการ์ด ‘เหตุผลยอดฮิต’ ขยายต่อ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน
อ่าน

เปิดการ์ด ‘เหตุผลยอดฮิต’ ขยายต่อ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน

หลังจากที่ประชุมครม.มีมติเห็นชอบให้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่ครบกำหนดในวันที่ 31 ก.ค. 2565 นี้ออกไปอีกสองเดือน (1 ส.ค. 2565 – 30 ก.ย. 2565) ส่งผลให้การขยาย พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ครั้งนี้ นับเป็น ‘ครั้งที่ 19’ ตั้งแต่ประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับแรกเมื่อวันที่ 25 มี.ค. 2563
ยุติการรุกตรวจโควิด 19 ในแรงงานข้ามชาติ อ้างรับผู้ป่วยใหม่ไม่ไหว
อ่าน

ยุติการรุกตรวจโควิด 19 ในแรงงานข้ามชาติ อ้างรับผู้ป่วยใหม่ไม่ไหว

กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงานยุติการตรวจโควิด 19 แก่แรงงานข้ามชาติใน “โครงการให้ความช่วยเหลือคนต่างด้าวด้านสาธารณสุข” อ้างสถานการณ์สาธารณสุขปัจจุบันที่ทำให้รับผู้ป่วยใหม่ไม่ไหว
เรื่องเล่าของฉัน โควิด19 กับวัยเยาว์ที่สาบสูญ
อ่าน

เรื่องเล่าของฉัน โควิด19 กับวัยเยาว์ที่สาบสูญ

ไอลอว์ชวนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา/นักศึกษาระดับปริญญาตรีเขียนความในใจเล่าประสบการณ์การเรียนออนไลน์ที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นอุปสรรคในการเรียนและโอกาสที่เสียไปในการเรียนออนไลน์
ตรวจการบ้าน ศบค.: หนึ่งปีผ่านไป ประเทศไทยยังอยู่กับการล็อกดาวน์
อ่าน

ตรวจการบ้าน ศบค.: หนึ่งปีผ่านไป ประเทศไทยยังอยู่กับการล็อกดาวน์

ทุกการระบาดใหญ่ตั้งแต่ระลอกแรกไปจนถึงการระบาดใหญ่ในช่วงปลายเดือนมิถุนายน 2564 ที่ผ่านมา รัฐไทยยังคงหวังใช้มาตรการควบคุมทางสังคม เช่น "การล็อคดาวน์" เป็นกลไกหลัก ทั้งที่ หัวใจสำคัญ คือ มาตรการทางสาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นการตรวจเชิงรุก การติดตามผู้ป่วย ไปจนการฉีดวัคซีน แต่รัฐไทยก็กลับละเลย
พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ คุ้มครอง ศบค. ฟ้องศาลปกครองไม่ได้ ทำผิดไม่ต้องรับผิด
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ คุ้มครอง ศบค. ฟ้องศาลปกครองไม่ได้ ทำผิดไม่ต้องรับผิด

ภายใต้สถานการณ์โควิดที่ระบาดต่อเนื่องจนควบคุมไม่ได้ รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ บังคับใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ อย่างต่อเนื่อง จนขณะนี้ก็ยังไม่ยกเลิกการบังคับใช้และหาเครื่องมืออื่นมาใช้แก้ปัญหาโรคระบาดแทน หนึ่งใน “เครื่องมือ” ที่พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ มอบให้รัฐบาลและเจ้าหน้าที่รัฐซึ่งไม่มีความจำเป็นในสถานการณ์โรคระบาดเลย คือ “การยกเว้นความรับผิดให้เจ้าหน้าที่”
‘ศบค.’ คืออะไร? เปิดโครงสร้าง และรายชื่อบุคคลเบื้องหลัง
อ่าน

‘ศบค.’ คืออะไร? เปิดโครงสร้าง และรายชื่อบุคคลเบื้องหลัง

เปิดที่มาโครงสร้าง และรายชื่อบุคคลเบื้องหลังศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) อันมีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นผู้อำนวยการศูนย์
ยังไม่เปิดเผยสัญญา รัฐบาลกับแอสตร้าเซเนก้า อังกฤษ-อียู เปิดสัญญาให้เห็นชัดว่า ใครเขียนไม่รัดกุม
อ่าน

ยังไม่เปิดเผยสัญญา รัฐบาลกับแอสตร้าเซเนก้า อังกฤษ-อียู เปิดสัญญาให้เห็นชัดว่า ใครเขียนไม่รัดกุม

กว่า 3 เดือนแล้วตั้งแต่มีการยื่นขอให้รัฐบาลเปิดเผยรายละเอียดสัญญาจัดซื้อวัคซีนป้องกันไวรัสโควิด 19 กับบริษัท แอสตร้าเซเนก้า และ บริษัท สยามไบโอไซเอนซ์ ซึ่งเป็นข้อมูลของรัฐที่ต้องเปิดเผย ชวนดูตัวอย่างในอังกฤษ-อียู ที่เปิดสัญญาต่อสาธารณะทำให้ประชาชนเห็นชัดว่า เขียนรัดกุมหรือไม่อย่างไร
สรุปโพสต์เดียวจบ! พ.ร.ก.เงินกู้ห้าแสนล้านบาท ทำไมต้องกู้-เอาไปใช้ทำอะไร?
อ่าน

สรุปโพสต์เดียวจบ! พ.ร.ก.เงินกู้ห้าแสนล้านบาท ทำไมต้องกู้-เอาไปใช้ทำอะไร?

9 มิถุนายน 2564 สภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาอนุมัติพ.ร.ก.เงินกู้ห้าแสนล้านบาท ซึ่งถือว่าเป็นการกู้เงินรอบที่สองของรัฐบาล ท่ามกลางเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่า ที่ผ่านมารัฐบาลล้มเหลวในการใช้เงินกู้เพื่อแก้ปัญหาจากโรคโควิด-19
ศาลฎีกาตอบกลับแอมเนสตี้ แจงมาตรการช่วงโควิด ลดการคุมขังไม่จำเป็น
อ่าน

ศาลฎีกาตอบกลับแอมเนสตี้ แจงมาตรการช่วงโควิด ลดการคุมขังไม่จำเป็น

องค์กรสิทธิมนุษยชนอย่างแอมแนสตี้ ประเทศไทย ส่งหนังสือถึงสำนักประธานฎีกาขอให้ศาลมีมาตรการคุ้มครองผู้ต้องขังและนักโทษเพื่อลดความรุนแรงของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด19 ทั้งในและนอกเรือนจำ รวมถึงขอให้ดำเนินการลดการคุมขังที่ไม่จำเป็นทุกขั้นตอน
คลัสเตอร์เรือนจำ : ความอลหม่านของการรายงานผู้ต้องขังติดเชื้อโควิด-19
อ่าน

คลัสเตอร์เรือนจำ : ความอลหม่านของการรายงานผู้ต้องขังติดเชื้อโควิด-19

นับจนถึงวันที่ 4 มิถุนายน 2564 มีผู้ต้องขังติดเชื้อในเรือนจำแล้วไม่น้อยกว่า 28,833 คน คิดเป็นร้อยละ 20.15 จากจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 ทั่วประเทศจำนวนทั้งหมด 143,116 คน ที่ผ่านมาการรายงานตัวเลขผู้ต้องขังติดเชื้อมีความไม่ขัดเจนในรายละเอียดเช่น จำนวนสะสมของศบค.และกรมราชทัณฑ์ที่ไม่ตรงกัน