ทบทวน 3 ข้อเรียกร้องตะวันแบม ทำอย่างไร?
อ่าน

ทบทวน 3 ข้อเรียกร้องตะวันแบม ทำอย่างไร?

ตะวันและแบม สองนักกิจกรรมรุ่นใหม่ถูกคุมขังในคดีมาตรา 112 จากการยื่นขอเพิกถอนประกันตัวเอง พร้อมข้อเรียกร้องสามข้อ ซึ่งไม่ใช่เรื่องใหม่ ชวนทบทวนข้อเรียกร้องว่าทำได้อย่างไร และใครเกี่ยวข้องบ้าง
กสม.-นักกฎหมาย ชี้ รัฐใช้ ม.116 เป็นเครื่องมือปิดปาก พร้อมจี้ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม
อ่าน

กสม.-นักกฎหมาย ชี้ รัฐใช้ ม.116 เป็นเครื่องมือปิดปาก พร้อมจี้ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม

ไอลอว์ จัดงานเสวนาหัวข้อ “มาตรา 116: ยุยงปลุกปั่น มั่นคงหรือมั่วนิ่ม” เพื่อสะท้อนถึงปัญหาการบังคับใช้ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 ที่กลายเป็นเครื่องของรัฐในการจำกัดการแสดงออก โดยเฉพาะการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลในยุคคสช. เพราะในจำนวนคดีความที่เกี่ยวกับมาตรา 116 ถูกใช้กับการแสดงออกในลักษณะวิพากษ์วิจารณ์ คสช. มากที่สุด  
มีนาคม 2560: ออกหมายเรียกนักกิจกรรมละเมิดอำนาจศาลจังหวัดขอนแก่น – วอยซ์ ทีวีจอดำเจ็ดวัน – แจ้งข้อกล่าวหา 116 กับพระวัดพระธรรมกาย
อ่าน

มีนาคม 2560: ออกหมายเรียกนักกิจกรรมละเมิดอำนาจศาลจังหวัดขอนแก่น – วอยซ์ ทีวีจอดำเจ็ดวัน – แจ้งข้อกล่าวหา 116 กับพระวัดพระธรรมกาย

สถานการณ์เสรีภาพเดือนมีนาคมยังคงร้อนไม่แพ้อุณหภูมิของฤดูร้อน  มีการออกหมายเรียกนักกิจกรรมกลุ่มหนึ่งที่แสดงสัญลักษณ์ไม่เห็นด้วยกับการคุมขังจตุภัทร์หรือ ‘ไผ่ ดาวดิน’ ไปไต่สวนในความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลที่จังหวัดขอนแก่น  มีกรณีวอยซ์ ทีวี ถูกลงโทษหนัก ห้ามออกอากาศเป็นเวลาเจ็ดวัน  หลังถูกกล่าวหาว่าเผยแพร่รายการที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสมยุยงให้มีความแตกแยกและขัดต่อพ.ร.บ.
ใครจะชี้ผิดชี้ถูก และใครจะรับรองสิทธิของประชาชนในกระบวนการยุติธรรม
อ่าน

ใครจะชี้ผิดชี้ถูก และใครจะรับรองสิทธิของประชาชนในกระบวนการยุติธรรม

ความสับสนของการตีความกันเองของเจ้าหน้าที่รัฐ-ประชาชน ว่าการกระทำใดผิดหรือไม่ผิด จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีหลักการบางอย่างสอดแทรกในข้อถกเถียง รณกรณ์ บุญมี จะช่วยเรามองหน้าตาของสังคมไทยและกระบวนการยุติธรรมที่ควรจะเป็นไปนับจากนี้