ศาลฎีกาตอบกลับแอมเนสตี้ แจงมาตรการช่วงโควิด ลดการคุมขังไม่จำเป็น
อ่าน

ศาลฎีกาตอบกลับแอมเนสตี้ แจงมาตรการช่วงโควิด ลดการคุมขังไม่จำเป็น

องค์กรสิทธิมนุษยชนอย่างแอมแนสตี้ ประเทศไทย ส่งหนังสือถึงสำนักประธานฎีกาขอให้ศาลมีมาตรการคุ้มครองผู้ต้องขังและนักโทษเพื่อลดความรุนแรงของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด19 ทั้งในและนอกเรือนจำ รวมถึงขอให้ดำเนินการลดการคุมขังที่ไม่จำเป็นทุกขั้นตอน
ตามหาวันเฉลิม: ถอดบทเรียนการต่อสู้เพื่อกลไกป้องกันการบังคับสูญหาย
อ่าน

ตามหาวันเฉลิม: ถอดบทเรียนการต่อสู้เพื่อกลไกป้องกันการบังคับสูญหาย

ภาคประชาสังคมที่ทำงานขับเคลื่อนประเด็นป้องกันการทรมานและอุ้มหายจัดวงเสวนาเรื่อง “ตามหาวันเฉลิม: ตามหาหลักประกันความปลอดภัยของประชาชนจากการถูกบังคับสูญหาย (และทรมาน)” สะท้อนความรู้สึกของผู้ใกล้ชิด บทเรียนความพยายามในการสร้างกลไกในการป้องกันการทรมานและการบังคับสูญหาย
แจงสามประเด็นปัญหาการตีความ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ
อ่าน

แจงสามประเด็นปัญหาการตีความ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ

แอมเนสตี้ฯ เปิดรายงานสถานการณ์สิทธิฯ เอเชีย-แปซิฟิก ชี้ไทยยังไม่ได้มาตรฐานสากล สิรวิชญ์หรือจ่านิวเล่าประสบการณ์ ถูกเอากฎหมายปกติมาใช้แบบไม่ปกติ คดีเยอะทำให้ใช้ชีวิตปกติไม่ได้ ผศ.ดร.จันทจิราแจงสามประเด็นปัญหาการตีความพ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ
ยกย่องบทบาทคนรุ่นใหม่ที่ลุกขึ้นสู้ ภายใต้การกดขี่เสรีภาพทั้งภูมิภาค
อ่าน

ยกย่องบทบาทคนรุ่นใหม่ที่ลุกขึ้นสู้ ภายใต้การกดขี่เสรีภาพทั้งภูมิภาค

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลแถลงเปิดตัวรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนประจำปีในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก โดยระบุว่า กระแสการประท้วงทั่วเอเชียที่มีเยาวชนเป็นแกนนำ ถือเป็นความพยายามในการต่อต้านการปราบปรามที่เพิ่มขึ้นและการจำกัดเสรีภาพในการแสดงออกและการชุมนุมอย่างสงบทั่วภูมิภาค
แถลงการณ์ร่วม  ประเทศไทย: ต้องให้ความสำคัญกับการแก้ไขเพิ่มเติมและการออกกฎหมายเกี่ยวกับการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหาย
อ่าน

แถลงการณ์ร่วม ประเทศไทย: ต้องให้ความสำคัญกับการแก้ไขเพิ่มเติมและการออกกฎหมายเกี่ยวกับการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหาย

แอมเนสตี้แถลงร่วม ICJ ผิดหวังต่อข่าวที่ระบุว่า "ร่าง พ.ร.บ.ทรมานและอุ้มหาย" ต้องล่าช้าออกไปอีก พร้อมเรียกร้องทางการไทยให้เร่งออกกฎหมายนี้โดยเร็ว
กันยายน 2559: ศาลฎีกาสั่งจำคุกคนขายหนังสือต้องห้ามผิด ม. 112 สองปี / เปิดคำพิพากษา “อานดี้ ฮอลล์” และสถานการณ์นักปกป้องสิทธิที่น่าเป็นห่วง
อ่าน

กันยายน 2559: ศาลฎีกาสั่งจำคุกคนขายหนังสือต้องห้ามผิด ม. 112 สองปี / เปิดคำพิพากษา “อานดี้ ฮอลล์” และสถานการณ์นักปกป้องสิทธิที่น่าเป็นห่วง

ช่วงเวลา ยอดรวมตั้…
เนื้อหาเดิม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1) กลับมาแล้ว ซ้ำซ้อนกฎหมายหมิ่นประมาทแต่โทษหนักกว่า
อ่าน

เนื้อหาเดิม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1) กลับมาแล้ว ซ้ำซ้อนกฎหมายหมิ่นประมาทแต่โทษหนักกว่า

แอมเนสตี้พบเนื้อหาเดิมที่มีปัญหาของมาตรา 14(1) ในร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ กลับมาแล้ว หลังถูกแก้ไขให้ดีขึ้นในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา พร้อมชวนประชาชนจับตาเส้นตายผ่าน พ.ร.บ. สิ้นเดือนพฤศจิกายนนี้
ยื่น 40,000 รายชื่อผู้ใช้เน็ตหยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล
อ่าน

ยื่น 40,000 รายชื่อผู้ใช้เน็ตหยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล

วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 ตัวแทนเครือข่ายพลเมืองเน็ตยื่น 40,000 รายชื่อ (ตัวเลข ณ วันที่ 6 กรกฎาคม 2559) ที่ร่วมกันรณรงค์ออนไลน์ผ่าน change.org “หยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล” ต่อ นายพีระศักดิ์ พอจิต รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) คนที่สอง เพื่อเรียกร้องให้ชะลอการพิจารณาร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่มีปัญหาในแง่การจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยเฉพาะเสรีภาพในการแสดงออกและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร อีกทั้งจะรบกวนการทำงานของระบบอินเทอร์เน็ต ทำให้การใช้งานอินเทอร์เน็ตไม่ปลอดภัย
รำลึกนักปกป้องสิทธิมนุษยชน: 12 ปี “ทนายสมชาย” กับความยุติธรรมที่สาบสูญ
อ่าน

รำลึกนักปกป้องสิทธิมนุษยชน: 12 ปี “ทนายสมชาย” กับความยุติธรรมที่สาบสูญ

องค์กรสิทธิมนุษยชนไทยและต่างประเทศจัดงานรำลึก 12 ปี กับการหายตัวของทนายสมชาย นีละไพจิตร กับช่องโหว่ในคำพิพากษาศาลยุติธรรม ทั้งนี้องค์กรต่างๆ เรียกร้องให้มีการสอบสวนคดีดังกล่าวอีกครั้ง และให้ประเทศไทยดำเนินการตามอนุสัญญาระหว่างประเทศอย่างเคร่งครัด