ประชาชนเสียอะไรบ้าง จากการที่รัฐสภาคว่ำ #แก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

ประชาชนเสียอะไรบ้าง จากการที่รัฐสภาคว่ำ #แก้รัฐธรรมนูญ

การที่สมาชิกรัฐสภาคว่ำการแก้รัฐธรรมนูญในวาระสาม นอกจากจะเสียความเชื่อมั่นในสายตาประชาชน ยังมีงบประมาณจากภาษีประชาชนที่เสียเปล่าไปกับกระบวนการแก้รัฐธรรมนูญ
เปิดรายชื่อ ส.ส. ส.ว. โหวตอะไรบ้างในการ #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสาม
อ่าน

เปิดรายชื่อ ส.ส. ส.ว. โหวตอะไรบ้างในการ #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสาม

17 มีนาคม 2564 รัฐสภามีมติเห็นชอบร่างแก้รัฐธรรมนูญ วาระสาม เพียง 208 เสียง ไม่เกินกึ่งหนึ่ง ร่างเป็นอันตกไป ชวนดูกันว่า ส.ส. ส.ว. แต่ละคน ลงมติอย่างไรบ้าง
รัฐสภาวุ่น! ส.ส. ส.ว. เสนอสี่ทางออก #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสาม
อ่าน

รัฐสภาวุ่น! ส.ส. ส.ว. เสนอสี่ทางออก #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสาม

เนื่องจากคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญไม่ได้ระบุว่ารัฐสภาจะทำประชามติได้ในขั้นตอนใด สมาชิกรัฐสภายังไม่สามารถหาข้อยุติได้ว่าจะลงมติแก้รัฐธรรมนูญวาระสามหรือไม่
ร่างรัฐธรรมนูญวาระสามล่ม! เสียงเห็นชอบไม่เกินครึ่ง-เสียง ส.ว.เห็นชอบไม่ถึงหนึ่งในสาม
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญวาระสามล่ม! เสียงเห็นชอบไม่เกินครึ่ง-เสียง ส.ว.เห็นชอบไม่ถึงหนึ่งในสาม

17 มีนาคม 2564 รัฐสภามีมติเห็นชอบร่างแก้รัฐธรรมนูญ ในวาระสาม เพียง 208 เสียง ซึ่งไม่เกินกึ่งหนึ่งของสมาชิกรัฐสภา จึงเป็นผลให้ร่างเป็นอันตกไป
เปิด 38 มาตรา แค่มีคำว่า “พระมหากษัตริย์” ก็จะคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

เปิด 38 มาตรา แค่มีคำว่า “พระมหากษัตริย์” ก็จะคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ

การพิจารณา #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสอง ส.ว.บางรายได้ทิ้งประเด็นเกี่ยวพระราชอำนาจ 38 มาตรา นอกเหนือหมวด 2 ไว้ ซึ่งกลายเป็นเงื่อนไขสำคัญของ ส.ว. ใช้เป็นข้ออ้างในการคว่ำ #แก้รัฐธรรมนูญ ในวาระสาม โดยทั้ง 38 มาตรานั้น ล้วนมี keyword ที่ปรากฏในบทบัญญัติ คือ คำว่า พระมหากษัตริย์
แก้รัฐธรรมนูญ: จับตาวาระสาม “สองประเด็น-สองเงื่อนไข-หนึ่งประชามติ”
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: จับตาวาระสาม “สองประเด็น-สองเงื่อนไข-หนึ่งประชามติ”

หลังจากสภามีมติเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญวาระที่สองเสร็จสิ้นไปแล้ว ขั้นตอนถัดไปคือการพิจารณาในวาระสามซึ่งเป็นวาระสุดท้าย หากรัฐสภามีมติเห็นชอบก็ให้ดำเนินการเพื่อประกาศใช้เป็นกฎหมายต่อไป แต่ทว่าเกมส์การแก้รัฐธรรมนูญในวาระสามไม่ใช่เรื่องง่าย หาก ส.ว.หรือพรรคฝ่ายค้านรวมตันกันไม่เห็นด้วย
5 เหตุผล ที่ศาลรัฐธรรมนูญไม่ควรคว่ำการแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

5 เหตุผล ที่ศาลรัฐธรรมนูญไม่ควรคว่ำการแก้รัฐธรรมนูญ

เปิด 5 เหตุผล ที่ศาลรัฐธรรมนูญไม่ควรคว่ำการแก้รัฐธรรมนูญ ตามการยื่นเรื่องโดยที่ประชุมรัฐสภา ให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ เพื่อตั้งสสร. ใหม่ ตามญัตติที่ไพบูลย์ นิติตะวัน และส.ว. เป็นผู้เสนอสู่รัฐสภา
ปฏิทิน ‘อย่างเร็ว’ สู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ถ้าไม่ถูกคว่ำ
อ่าน

ปฏิทิน ‘อย่างเร็ว’ สู่การเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ถ้าไม่ถูกคว่ำ

รัฐสภาพิจารณาแก้ไขรัฐธรรมนูญวาระที่สองเสร็จแล้ว จากนี้จะเข้าสู่การลงมติในวาระสาม ขั้นตอนต่างๆ จะเดินหน้าสู่การทำประชามติ การประกาศใช้รัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติม และจัดการเลือกตั้ง สสร ทั้งหมดนี้จะเกิดขึ้นในเวลาไม่นานถ้าหากศาลรัฐธรรมนูญไม่สั่งคว่ำกระบวนการเสียก่อน
แก้รัฐธรรมนูญ: ถึงรัฐธรรมนูญจะแก้ง่ายขึ้นแต่เกมส์การแก้ยังอยู่ในมือ คสช.
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: ถึงรัฐธรรมนูญจะแก้ง่ายขึ้นแต่เกมส์การแก้ยังอยู่ในมือ คสช.

มาตรา 256 ของรัฐธรรมนูญ 2560 หรือมาตราที่ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการแก้รัฐธรรมนูญ คือ กุญแจสำคัญในการปลดล็อกการเมืองไทยออกจากวังวนอำนาจของคสช. และพาประเทศกลับสู่ระบอบประชาธิปไตยเต็มไปได้อีกครั้ง ด้วยเหตุนี้ จึงมีความพยายามของรัฐสภาที่จะแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญในวาระสองเพื่อทำให้รัฐธรรมนูญแก้ง่ายขึ้น โดยให้ใช้เสียง "สามในห้า" ของรัฐสภา แต่ทว่า หลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าวก็ยังคงทำให้คสช. เป็นฝ่ายได้เปรียบอยู่ดี  
แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปผลการประชุมรัฐสภาในวาระสอง
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปผลการประชุมรัฐสภาในวาระสอง

24 และ 25 กุมภาพันธ์ 2564 ที่ประชุมร่วมของรัฐสภาซึ่งประกอบด้วยสภาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) และ สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) จะมีการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ..) พุทธศักราช ….  ฉบับที่คณะกรรมาธิการ (กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ) ได้พิจารณาเสร็จสิ้นแล้ว