เหตุผล 4 ข้อ #แก้รัฐธรรมนูญ ต้องยกเลิก ‘ส.ว. แต่งตั้ง’
อ่าน

เหตุผล 4 ข้อ #แก้รัฐธรรมนูญ ต้องยกเลิก ‘ส.ว. แต่งตั้ง’

นับแต่คสช. รัฐประหารปี 2557 คสช. พยายามวางฐานอำนาจไว้ในกฎหมายสูงสุดอย่างรัฐธรรมนูญ ที่ชัดเจนที่สุด คือ การกำหนดให้มี ‘ส.ว. แต่งตั้ง’ ที่คัดเลือกมาเองเพื่อเป็นหลักประกันการสืบทอดอำนาจ ในวาระการ #แก้รัฐธรรมนูญ ชวนดู 4 เหตุผลหลักที่ต้องยกเลิกส.ว.ตัวแปรสำคัญในการรื้อระบอบประยุทธ์
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส : #แก้รัฐธรรมนูญ ต้องรื้อถอนอำนาจคสช. – เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ อย่าไขว้เขว
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส : #แก้รัฐธรรมนูญ ต้องรื้อถอนอำนาจคสช. – เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ อย่าไขว้เขว

ศึก #แก้รัฐธรรมนูญ ภาคสอง แบบ “รายมาตรา” มีร่างถึง 13 ฉบับ ประเด็นยิบย่อยมากมาย ฝ่ายค้านก็ไม่สามัคคี ฝ่ายรัฐบาลก็แยกกันเสนอ ขอประชาชน “โฟกัส” ให้มั่นคง เป้าหมายปลายทางยังคงเป็นการ “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” โดยประชาชน ซึ่งต้องรื้อถอนอำนาจคณะรัฐประหารออกก่อน หากการแก้ไขไม่ไปหาเป้าหมายนี้ ก็ไม่ใช่ทางออกของประเทศ
เปรียบเทียบสามระบบเลือกตั้งแบบไหนเหมาะสมกับการเมืองไทย
อ่าน

เปรียบเทียบสามระบบเลือกตั้งแบบไหนเหมาะสมกับการเมืองไทย

การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 นำมาสู่ข้อถกเถียงเกี่ยวกับระบบเลือกตั้ง โดยมีการเสนอให้กลับไปใช้แบบรัฐธรรมนูญ 2540 แต่การเสนอแก้ไขถูกกล่าวหาว่า จะช่วยขยายการสืบทอดอำนาจให้ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ข้อกล่าวหาที่จริงหรือไม่ และระบบเลือกตั้งแบบไหนที่เหมาะกับประเทศไทย
ส.ว.แต่งตั้ง : ถึงเวลาต้องปิดสวิตซ์ตัวเอง
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง : ถึงเวลาต้องปิดสวิตซ์ตัวเอง

ศึก #แก้รัฐธรรมนูญ ภาคสองที่กำลังจะเกิดขึ้นในวันที่ 22-24 มิถุนายน 2564 ข้อเสนอสำคัญที่พรรคการเมืองทั้งฝ่ายค้านและรัฐบาล ยกเว้นพรรคพลังประชารัฐและพรรคชาติไทยพัฒนา พร้อมใจกันยื่น คือ การตัดอำนาจ ส.ว. ซึ่งในการแก้ไขเรื่องดังกล่าวคงไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะต้องอาศัยเสียงเห็นชอบจากตัว ส.ว. เองไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 หรือประมาณ 84 คนจากเสียงทั้งหมด 250 คน
แก้รัฐธรรมนูญ: “แก้ระบบเลือกตั้ง-ปิดสวิตซ์ ส.ว.” จุดร่วมฝ่ายค้านและพรรคร่วมรัฐบาล
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: “แก้ระบบเลือกตั้ง-ปิดสวิตซ์ ส.ว.” จุดร่วมฝ่ายค้านและพรรคร่วมรัฐบาล

ในศึกการแก้รัฐธรรมนูญภาคสอง ทั้งพรรครัฐบาลและฝ่ายค้านต่างมีจุดร่วมสำคัญอยู่ที่การแก้ไขเรื่อง “ระบบเลือกตั้ง” ให้กลับไปใช้บัตรเลือกตั้งสองใบเช่นเดียวกับระบบเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ ปี 2540 แต่จุดต่างที่สำคัญ ซึ่งพรรคพลังประชารัฐเป็นกลุ่มเดียวที่ไม่ยอมเสนอ คือ การ “ปิดสวิตซ์ ส.ว.” หรือยกเลิกที่มาและอำนาจของวุฒิสภาตามบทเฉพาะกาล หรือ ยกเลิก ส.ว. ที่มาจากการคัดเลือกของ คสช.
แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปร่างพลังประชารัฐ2 เอาระบบเลือกตั้งคล้าย’40 ลดทอนกลไกปราบทุจริต
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปร่างพลังประชารัฐ2 เอาระบบเลือกตั้งคล้าย’40 ลดทอนกลไกปราบทุจริต

ข้อเสนอให้แก้ไขรัฐธรรมนูญในภาคสองจากพรรคพลังประชารัฐ แยกได้เป็น 5 ประเด็น 13 มาตรา เพิ่มสิทธิในกระบวนการยุติธรรม แก้ไขระบบเลือกตั้งยกเลิกการทำ Primary Vote กลับไปใช้คล้ายกับปี 2540 ลดความเข้มงวดกลไกปราบโกง
“พ.ร.บ.การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย” ฉบับใหม่: เปิดทางเข้าชื่อเสนอกฎหมายทางออนไลน์
อ่าน

“พ.ร.บ.การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย” ฉบับใหม่: เปิดทางเข้าชื่อเสนอกฎหมายทางออนไลน์

พ.ร.บ.การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ปี 2564 เปิดทางให้ประชาชนสามารถเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายหรือร่างรัฐธรรมนูญต่อสภาผู้แทนราษฎรหรือประธานรัฐสภา (แล้วแต่กรณี) ได้สะดวกขึ้น
7 ปี แห่งความถดถอย: ส.ว.ของคสช. ขวางการเปลี่ยนแปลง-ถ่วงแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย: ส.ว.ของคสช. ขวางการเปลี่ยนแปลง-ถ่วงแก้รัฐธรรมนูญ

รัฐธรรมนูญ 2560 เป็นรัฐธรรมนูญที่คนของคสช. เป็นคนร่าง เต็มไปด้วยกลไกสืบทอดอำนาจอย่างเข้มข้นอีกทั้ง หนทางในการจะออกจากวังวนอำนาจของคสช. ภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ก็เต็มไปด้วยอุปสรรค
สรุปร่าง “รื้อระบอบประยุทธ์” ยกเลิก ส.ว. รื้อองค์กรอิสระ เพิ่มอำนาจฝ่ายค้าน
อ่าน

สรุปร่าง “รื้อระบอบประยุทธ์” ยกเลิก ส.ว. รื้อองค์กรอิสระ เพิ่มอำนาจฝ่ายค้าน

ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญรื้อระบอบประยุทธ์ ของกลุ่ม Re-solution เสนอให้ยกเลิกวุฒิสภา เปลี่ยนมาใช้เป็นระบบ สภาเดี่ยว กำหนดให้นายกรัฐมนตรีต้องเป็น ส.ส. รื้อที่มาองค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งหมด รวมทั้งออกแบบกลไกใหม่ที่หวังจะป้องกันไม่ให้การรัฐประหารเกิดขึ้นได้อีก
ถ้าได้ใช้ พ.ร.บ.ประชามติฯ รัฐสภา-ประชาชน เสนอทำประชามติได้
อ่าน

ถ้าได้ใช้ พ.ร.บ.ประชามติฯ รัฐสภา-ประชาชน เสนอทำประชามติได้

แม้ประเทศไทยจะเคยมีการทำประชามติมาแล้วหลายครั้ง แต่ก็ไม่เคยมีกฎหมายประชามติที่ใช้เป็นการทั่วไปมาก่อน ถ้าหากร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ผ่านการพิจารณาของรัฐสภา จะเป็นกฎหมายที่รองรับการจัดทำประชามติเพื่อให้ประชาชนผู้เป็นเจ้าของประเทศมีส่วนร่วมตัดสินใจได้ และรัฐสภา-ประชาชน ก็สามารถเสนอเรื่องประชามติได้