อ่าน รัฐธรรมนูญและรัฐสภา องค์กรอิสระ สรุปเสวนา: 5 ปัญหาประชาธิปไตยไทย ทำไมดึกดำบรรพ์ธันวาคม 12, 2016 นักวิชาการเผย อุปสรรคประชาธิปไตย 5 ข้อ ตุลาการแทรกแซงการเมือง ชนชั้นนำเปิดทางกุมอำนาจ นายทุนไม่เอื้อประชาธิปไตย รธน.ทำรัฐมีปัญหา วัฒนธรรมปลูกฝังชาตินิยม 0 0 0
อ่าน ความเสมอภาคทางเพศ ทำไมความรุนแรงทางเพศที่เกิดขึ้นกับผู้หญิง ผู้หญิงกลับเป็นฝ่ายถูกตั้งคำถามพฤศจิกายน 26, 2016 จากข่าวข่มขืนนักศึกษาธรรมศาสตร์ นำมาสู่การวิเคราะห์ปัญหาความรุนแรงทางเพศว่า ความรุนแรงเรื่องเพศต่อผู้หญิง ถูกล้อมด้วย ‘อคติ’ ทางเพศของสังคม ไม่ใช่ ‘ปัญหาส่วนตัว’ แต่เป็นปัญหา ‘โครงสร้างของรัฐ’ และชวนคิดถึงหญิงที่พิการ หรือหญิงเป็นแรงงานข้ามชาติ ที่จะยิ่งพบอุปสรรคในกระบวนการยุติธรรมของไทย 0 0 0
อ่าน จับตา สนช. ติดตามกฎหมาย พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ร่าง พ.ร.บ.คอมฯ ระบุชัด ให้กรรมการ 5 คน สั่งปิดเว็บขัดศีลธรรมอันดี, การไม่ลบข้อมูลเป็นความผิดเพราะคนมี “สิทธิที่จะถูกลืม”พฤศจิกายน 23, 2016 หลักสิทธิที่จะถูกลืม หรือ right to be forgotten ถูกอ้างขึ้นในการร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับใหม่ เพื่อเป็นเหตุในการกำหนดความผิดฐานใหม่ ให้ทำลายข้อมูลที่ศาลสั่งว่าผิด ทั้งที่ในทางสากล สิทธิที่จะถูกลืมใช้เพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พร้อมประเด็นสำคัญการบล็อกเว็บที่ขัดกับศีลธรรมอันดี ทำโดยคณะกรรมการ 5 คนตัดสินใจ 0 0 0
อ่าน ติดตามกฎหมาย บทความกฎหมายอื่นๆ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ประสานเสียงอัด มาตรา 14 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ใช้ผิดเจตนารมณ์ กระทบเสรีภาพออนไลน์ตุลาคม 24, 2016 นักกฎหมายชี้ การใช้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1) ฟ้องคดีหมิ่นประมาทนั้นผิดเจตนารมณ์ สร้างผลกระทบต่อจำเลย เสนอตัดเรื่องนี้ออกจาก พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เลย SEAPA ระบุ การผลักภาระให้จำเลยพิสูจน์ว่าข้อมูลส่วนไหนเท็จหรือจริง ทำให้นักข่าวทำงานยาก 0 0 0
อ่าน จับตา สนช. ติดตามกฎหมาย พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ DTAC-True ย้ำปัญหานิยาม “ผู้ให้บริการ” ชี้ Single Gateway จะกลับมาในรูปแบบใหม่ตุลาคม 23, 2016 ฝ่ายกฎหมายของทั้ง True และ Dtac ต่างกังวลมาตรา 15 ของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เนื่องจากนิยามของผู้ให้บริการกว้างมาก และกำหนดให้ผู้ให้บริการมีความผิดเท่ากับผู้กระทำ ข้อเสนอแก้ไขสร้างปัญหาความทับซ้อนของกฎหมาย พร้อมชี้ Single Gateway ยังไม่ล้มเลิกไปแต่จะกลับมาในรูปแบบใหม่ 0 0 0
อ่าน กระบวนการยุติธรรม ติดตามกฎหมาย จับประเด็นเสวนา: ทางออกปัญหายาเสพติด ต้องปรับมุมคิดจากอาชญากรสู่ผู้ป่วยกันยายน 26, 2016 คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายจัดเวทีวิชาการเกี่ยวกับประมวลกฎหมายยาเสพติด ในเวทีได้ข้อสรุปไปในทิศทางเดียวกันว่า การแก้ปัญหายาเสพติดต้องเริ่มจากปรับมุมมองต่อผู้ที่เสพยาเสียใหม่ จากอาชญากรก็ควรจะเป็นผู้ป่วยที่ต้องเข้ารับการรักษาบำบัดฟื้นฟู และให้คงโทษไว้เฉพาะผู้ที่ผลิตหรือครอบครองเพื่อการค้า เพราะแนวทางการแก้ปัญหายาเสพติดแบบเดิมไม่ประสบผลสำเร็จอีกต่อไป 0 0 0