10 ข้อสงสัยที่คนไปร่วมการ #ชุมนุม ต้องรู้
อ่าน

10 ข้อสงสัยที่คนไปร่วมการ #ชุมนุม ต้องรู้

มีคำถามเกี่ยวกับการชุมนุมเกิดขึ้นมากมาย ไอลอว์จึงได้รวม 10 คำถาม ที่ผู้ประสงค์ไปร่วมชุมนุมหรือจัดการชุมนุมอาจสงสัยมาตอบไว้
ยุติธรรมอย่างไทย: ยกเลิกแล้วแต่ยังอยู่?! คำสั่ง คสช.ห้ามชุมนุมทางการเมือง
อ่าน

ยุติธรรมอย่างไทย: ยกเลิกแล้วแต่ยังอยู่?! คำสั่ง คสช.ห้ามชุมนุมทางการเมือง

11 ธันวาคม 2561 คสช.ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ 22/2561 ยกเลิกข้อห้ามชุมนุมทางการเมือง ความเข้าใจพื้นฐานที่ควรจะเป็นคือ การชุมนุมทางการเมืองและกิจกรรมทางการเมืองทั้งหลายจะต้องกลับมามีเสรีภาพอย่างเต็มที่อีกครั้งภายใต้รัฐธรรมนูญ แต่ในทางปฏิบัติที่เกิดขึ้นไม่ได้เป็นเช่นนั้น
คุยกับ ฮ่องเต้ – ธนาธร นักศึกษา ม.เชียงใหม่ ที่ถูกมหาวิทยาลัยไม่ให้ใช้สถานที่จัดงาน “ล่น ไล่ ลุง”
อ่าน

คุยกับ ฮ่องเต้ – ธนาธร นักศึกษา ม.เชียงใหม่ ที่ถูกมหาวิทยาลัยไม่ให้ใช้สถานที่จัดงาน “ล่น ไล่ ลุง”

เจ้าหน้าที่ มช.ให้ความเห็นกับกลุ่มผู้จัดชุมนุมว่าอาจจะไม่สามารถให้จัดงานได้ เนื่องจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ต้องคงความเป็นกลางทางการเมือง  
แจงสามประเด็นปัญหาการตีความ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ
อ่าน

แจงสามประเด็นปัญหาการตีความ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ

แอมเนสตี้ฯ เปิดรายงานสถานการณ์สิทธิฯ เอเชีย-แปซิฟิก ชี้ไทยยังไม่ได้มาตรฐานสากล สิรวิชญ์หรือจ่านิวเล่าประสบการณ์ ถูกเอากฎหมายปกติมาใช้แบบไม่ปกติ คดีเยอะทำให้ใช้ชีวิตปกติไม่ได้ ผศ.ดร.จันทจิราแจงสามประเด็นปัญหาการตีความพ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ
ม.เชียงใหม่ไม่ให้ใช้สถานที่จัด “ล่น ไล่ ลุง”: ผู้ขอแจง คิดว่ามหาวิทยาลัยจะเป็นสถานที่ที่ให้สิทธิ เสรีภาพ เหมือนในอดีต
อ่าน

ม.เชียงใหม่ไม่ให้ใช้สถานที่จัด “ล่น ไล่ ลุง”: ผู้ขอแจง คิดว่ามหาวิทยาลัยจะเป็นสถานที่ที่ให้สิทธิ เสรีภาพ เหมือนในอดีต

หลังจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้ออกหนังสือไม่อนุญาตให้กลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ซึ่งเป็นผู้จัดงาน “ล่น ไล่ ลุง” ใช้สถานที่จัดกิจกรรม ทางผู้ยื่นหนังสือได้ให้ข้อมูลว่า ในอดีตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เคยเป็นสถานที่จัดชุมนุมของกลุ่ม กปปส.
ยกย่องบทบาทคนรุ่นใหม่ที่ลุกขึ้นสู้ ภายใต้การกดขี่เสรีภาพทั้งภูมิภาค
อ่าน

ยกย่องบทบาทคนรุ่นใหม่ที่ลุกขึ้นสู้ ภายใต้การกดขี่เสรีภาพทั้งภูมิภาค

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลแถลงเปิดตัวรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนประจำปีในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก โดยระบุว่า กระแสการประท้วงทั่วเอเชียที่มีเยาวชนเป็นแกนนำ ถือเป็นความพยายามในการต่อต้านการปราบปรามที่เพิ่มขึ้นและการจำกัดเสรีภาพในการแสดงออกและการชุมนุมอย่างสงบทั่วภูมิภาค
ประเด็นกฎหมายชุมนุมที่ยังต้องเถียงกันต่อ จากกิจกรรม “วิ่งไล่ลุง”
อ่าน

ประเด็นกฎหมายชุมนุมที่ยังต้องเถียงกันต่อ จากกิจกรรม “วิ่งไล่ลุง”

เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2563 มีการจัดกิจกรรม “วิ่งไล่ลุง” ขึ้นในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ แม้กิจกรรมดังกล่าวไม่มีการยื่นข้อเรียกร้อง ไม่มีเวทีปราศรัย ไม่มีการปักหลักยืดเยื้อ เป็นแต่เพียงการรวมตัวกันออกกำลังกายและแยกย้ายกันกลับหลังกิจกรรมยุติ แต่ในความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ “ลุง” ในกิจกรรม “วิ่งไล่ลุง” หมายถึง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและอดีตหัวหน้า คสช.
คู่มือประชาชนว่าด้วย การใช้เสรีภาพในการชุมนุม
อ่าน

คู่มือประชาชนว่าด้วย การใช้เสรีภาพในการชุมนุม

ภายใต้ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ 2558 ประชาชนที่ต้องการใช้เสรีภาพการชุมนุมควรเข้าใจข้อกฎหมายเพื่อให้การชุมนุมสามารถดำเนินไปได้โดยไม่มีอุปสรรค
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ ฉบับใหม่ ห้ามชุมนุมรอบทำเนียบรัฐบาล เด็ดขาด!

ตลอดเกือบ 3 ปี ที่ผ่านมา การใช้กฎหมายชุมนุมนั้นมีประสิทธิภาพมาก เพราะกฎหมายดังกล่าวเป็นเครื่องมือชั้นเยี่ยมในการลดทอนเสรีภาพของการชุมนุม ไม่ว่าจะเป็นการนำกฎหมายมาใช้เพื่อกดดันข่มขู่ นำมาใช้เพื่อจำกัดการชุมนุมล่วงหน้า และเปิดช่องให้เจ้าหน้าที่ตำรวจแทรกแซง การลงโทษ ผู้ที่ต้องการจะใช้เสรีภาพในการชุมนุมในยุคปัจจุบัน