ฐปนีย์รับหมายคดี “หมิ่น ส.ส.” ในวันเสรีภาพสื่อโลก วิทิตร้อง UN สั่งยุติคดีการเมืองต่อเด็ก
อ่าน

ฐปนีย์รับหมายคดี “หมิ่น ส.ส.” ในวันเสรีภาพสื่อโลก วิทิตร้อง UN สั่งยุติคดีการเมืองต่อเด็ก

งานเสวนาวันเสรีภาพสื่อโลก ฐปนีย์ เผยเพิ่งได้รับหมายเรียกฐานหมิ่นประมาท จากการรายงานข่าวว่า ส.ส. ถูกร้องเรียนให้ตรวจสอบพฤติกรรม ศ.วิทิต ยืนยันต้องยุติคดีการเมืองก่อนแล้วค่อยแก้กฎหมาย ร้ององค์กร UN สั่งยุติคดีอาญาต่อเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปีที่แสดงออกทางการเมือง
การชุมนุมปี 2563 พริบตาแห่งความเปลี่ยนแปลง: พลังก่อตัวจากไหน มีพัฒนาการอย่างไร เราเจออะไรมาบ้าง
อ่าน

การชุมนุมปี 2563 พริบตาแห่งความเปลี่ยนแปลง: พลังก่อตัวจากไหน มีพัฒนาการอย่างไร เราเจออะไรมาบ้าง

779 ครั้งคือจำนวนการชุมนุมทั่วประเทศในปี 2563 ที่เราสามารถเก็บข้อมูลได้ โดยเป็นปีแรกที่เก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ แม้ไม่มีข้อมูลสถิติเปรียบเทียบในปีอื่นๆ ก็เป็นที่ประจักษ์ชัดว่า ปี 2563 มีการชุมนุมมากครั้งที่สุดในรอบหลายปีที่ผ่านมานับตั้งแต่มีการรัฐประหารในปี 2557 ซึ่งมีการปิดกั้นการชุมนุมทุกประเภทด้วยการออกประกาศ/คำสั่งของ คสช.
เสรีภาพสื่อที่หายไปในสนามการชุมนุม
อ่าน

เสรีภาพสื่อที่หายไปในสนามการชุมนุม

สื่ออิสระ นับว่าเป็นกลุ่มคนสำคัญในสนามการชุมนุมที่นับวันมีเหตุความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น เพราะพวกเขาต่างทำหน้าที่เสมือนเป็นหูเป็นตาให้กับประชาชนในยามที่สื่อกระแสหลักไม่สามารถทำหน้าที่ได้ แต่ราคาที่ต้องจ่าย คือ ความเสี่ยงนานับประการ ไม่ว่าจะเป็นการคุกคาม การใช้ความรุนแรง ไปจนถึงการดำเนินคดี ซึ่งสิ่งเหล่านี้ได้สะท้อนให้เห็น "เสรีภาพสื่อที่หายไป" ในสนามการชุมนุม
สื่อ-นักกฎหมาย-นักการเมือง ประสานเสียงค้าน “มาตรการคุมสื่อ” ตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ
อ่าน

สื่อ-นักกฎหมาย-นักการเมือง ประสานเสียงค้าน “มาตรการคุมสื่อ” ตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

ภายหลังข้อกำหนด ตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 29 ที่กำหนดว่าห้ามเสนอข่าวที่ทำให้ประชาชนหวาดกลัว หรือบิดเบือนข้อมูลข่าวสาร รวมถึงอนุญาตให้ กสทช.มีอำนาจ "ตัดเน็ต" หากพบว่า IP address ใดทำผิดข้อกำหนด มีผลบังคับใช้ มันได้สร้างความไม่พอใจให้กับประชาชนอย่างกว้างขว้าง จนเกิดเป็นปฏิกิริยาตอบโต้จากทั้งบรรดาสื่อมวลชน นักกฎหมาย รวมถึงกลุ่มการเมือง ที่มองว่า นี่คือการคุกคามสื่อและจงใจปิดหูปิดตามประชาชน
สรุปคำฟ้องขอเพิกถอนข้อกำหนดฯ ฉบับที่ 29 คืนเสรีภาพสื่อให้กับประชาชน
อ่าน

สรุปคำฟ้องขอเพิกถอนข้อกำหนดฯ ฉบับที่ 29 คืนเสรีภาพสื่อให้กับประชาชน

2 สิงหาคม 2564 กลุ่มสื่อมวลชนและภาคประชาชน อย่างน้อย 12 กลุ่ม เดินทางมาศาลแพ่ง (รัชดา) เพื่อยื่นฟ้องขอเพิกถอนข้อกำหนดที่ออกตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 29 ที่ให้อำนาจ กสทช. “ตัดเน็ต” ผู้โพสต์ข้อความอันอาจทำให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัว เนื่องจากเป็นการใช้อำนาจที่ขัดต่อหลักนิติธรรม และยังเป็นการดำเนินการที่ไม่สอดคล้องกับหลักการพื้นฐานในการปกครองระบอบประชาธิปไตย 
The Post: เพราะสื่อ…ไม่ใช่เครื่องมือของรัฐ
อ่าน

The Post: เพราะสื่อ…ไม่ใช่เครื่องมือของรัฐ

iLaw’s Movie Pick เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ไอลอว์อยากเปิดพื้นที่ให้เล่าเรื่องการเมือง สังคม สิทธิมนุษยชน หรือกระบวนการยุติธรรมผ่านภาพยนตร์ โดยในช่วงที่ทุกคนล้วนต้องกักตัวตามมาตรการของรัฐ จึงได้จัดกิจกรรมให้คนทั่วไปส่งผลงาน "รีวิวหนัง" เข้ามาแชร์กัน
สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เสรีภาพการแสดงความเห็น-วิชาการ-สื่อมวลชน ตั้งแต่ปี 40 หลักการเดิม แต่รายละเอียดเปลี่ยน
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เสรีภาพการแสดงความเห็น-วิชาการ-สื่อมวลชน ตั้งแต่ปี 40 หลักการเดิม แต่รายละเอียดเปลี่ยน

เทียบเสรีภาพการแสดงออกในรัฐธรรมนูญถาวรสามฉบับตั้งแต่ปี 2540 พบว่า หลักการเหมือนกันแต่รายละเอียดเปลี่ยนไป รัฐธรรมนูญ​ 2560 ตัดความเป็นส่วนตัว สิทธิครอบครัว สุขภาพจิต จากข้อยกเว้นการใช้เสรีภาพการแสดงความคิดเห็น ตัดการคุ้มครองการสอน อบรม วิจัย จากเสรีภาพทางวิชาการ และรับรองเสรีภาพของสื่อกว้างๆ ว่า “บุคคลที่ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชน”
พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: ทำความเข้าใจกฎหมายที่ใช้รับมือโควิด-19
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: ทำความเข้าใจกฎหมายที่ใช้รับมือโควิด-19

25 มีนาคม 2563 พล.อ.ประยุทธ์ได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร และใช้ถึงวันที่ 30 เมษายน 2563 ซึ่งให้อำนาจนายกฯ ในการสั่งการหน่วยงานต่างๆ เพื่อรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน รวมถึงการออกข้อกำหนดในการกำหนดเรื่องการเดินทาง หรือกำหนดเวลาเข้าออกจากบ้าน รวมถึงการกำกับและควบคุมการนำเสนอข้อมูลข่าวสารได้อีกด้วย