สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญ ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ
อ่าน

สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญ ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ

หลังจากเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ มาตรา 61 วรรคสอง ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งวันที่ 4 กรกฎาคม ศาลรัฐธรรมนูญได้เผยแพร่ร่างคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๔/๒๕๕๙ (อย่างไม่เป็นทางการ) ออกมา ไอลอว์สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญว่า ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ
ประชามติไทยสไตล์: โหวตเยส รัฐประหาร ร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ประชามติไทยสไตล์: โหวตเยส รัฐประหาร ร่างรัฐธรรมนูญ

7 สิงหาคม 2559 จะเป็นประชามติครั้งที่สองของประเทศไทย หลังจากที่ครั้งแรกเกิดขึ้นเมือเดือนสิงหาคม ปี 2550 การออกเสียงประชามติทั้งสองครั้งเกิดขึ้นภายใต้การควบคุมของรัฐบาลทหาร แต่บรรยากาศการแสดงความคิดเห็นและการรณรงค์ก็มีความแตกต่างกันในระดับหนึ่ง อะไรคือความเหมือนอะไรคือความต่าง
ขู่-ห้าม-จับ พ.ร.บ.ประชามติฯ กกต.ใช้จำกัดการรณรงค์อย่างไรบ้าง
อ่าน

ขู่-ห้าม-จับ พ.ร.บ.ประชามติฯ กกต.ใช้จำกัดการรณรงค์อย่างไรบ้าง

บรรยากาศของการลงประชามติยังเป็นไปอย่างเงียบเหงา เพราะมีเพียงภาครัฐเท่านั้นที่รณรงค์ได้เต็มตัว ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการบังคับใช้ พ.ร.บ.ประชามติฯ ที่มีบทบัญญัติที่คลุมเครือ และมีโทษที่รุนแรง อย่างแข็งขัน ทำให้การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญถูกกระชับพื้นที่เข้าไปทุกที
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติต้องเปิดใจไม่ใช่ปิดปาก
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติต้องเปิดใจไม่ใช่ปิดปาก

อีก 43 วัน ก็จะถึงวันออกเสียงประชามติ แต่มันจะเป็นประชามติแบบไหน มันจะเป็นประชามติที่รัฐพร้อมจะเปิดใจฟังเสียงคัดค้านต่อเนื้อหาร่างรัฐธรรมนูญ และเปิดพื้นที่ให้ประชาชนได้ถกเถียงเพื่อทำความเข้าใจผลของการลงประชามติอย่างแท้จริงหรือไม่ หรือสุดท้ายจะเป็นเพียงพิธีกรรมที่รัฐเป็นผู้ควบคุมด้วยกฎหมายและความกลัว
แถลงการณ์เรื่อง “ประชามติกับการใช้สิทธิเสรีภาพ”
อ่าน

แถลงการณ์เรื่อง “ประชามติกับการใช้สิทธิเสรีภาพ”

กลุ่มนักวิชาการและภาคประชาชนร่วมกันอ่านแถลงการณ์เรื่อง “ประชามติกับการใช้เสรีภาพ” เชื่อว่าประชามติร่างรัฐธรรมนูญในวันที่ 7 ส.ค. จะไม่สามารถดำเนินไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม หากมาตรา 61 วรรคสอง ของ พ.ร.บ.ว่าด้วยการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2559 และประกาศ กกต. เมื่อวันที่ 2 พ.ค. 2559 ยังคงอยู่ต่อไป
ศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัย พ.ร.บ.ประชามติฯ อย่างไร ไม่มีผลต่อการตัดสินใจเลื่อนการทำประชามติ
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัย พ.ร.บ.ประชามติฯ อย่างไร ไม่มีผลต่อการตัดสินใจเลื่อนการทำประชามติ

ไอลอว์ชี้แจง กรณีที่ผู้ตรวจการแถลงส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยมาตรา 61 วรรคสอง ของ พ.ร.บ.ประชามติฯ หากศาลวินิจฉัยว่าขัดกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ผลที่จะตามมาก็คือ เฉพาะมาตรา 61 วรรคสอง จะใช้บังคับไม่ได้ เสมือนว่าเนื้อหาตามวรรคสองนี้ไม่เคยมีอยู่ และไม่เป็นเหตุให้เลื่อนประชามติ