ย้อนความจำ 12 ปี กรุงเทพฯ ภายใต้ประชาธิปัตย์ กปปส. และ คสช.
อ่าน

ย้อนความจำ 12 ปี กรุงเทพฯ ภายใต้ประชาธิปัตย์ กปปส. และ คสช.

คนเมืองหลวงไม่ได้เลือกตั้งท้องถิ่นของตนเองเป็นเวลากว่า 9 ปี จุดเริ่มต้นของการตัดสิทธิเลือกตั้งเกิดขึ้นเมื่อมีการรัฐประหาร 2557 จากนั้นเครือข่าย คสช. ก็เริ่มดำเนินการเข้าแทรกแซง กทม.ทั้งงานบริหารและงานนิติบัญญัติเป็นเวลาเกือบหนึ่งทศวรรษ
ทำความรู้จักกับ ส.ก. สภานิติบัญญัติของ กทม. ที่ คสช. ครองมาเกือบ 8 ปี
อ่าน

ทำความรู้จักกับ ส.ก. สภานิติบัญญัติของ กทม. ที่ คสช. ครองมาเกือบ 8 ปี

22 พฤษภาคม 2565 ชาว กทม. จะได้เลือกสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) ซึ่งจะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการบริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นแบบพิเศษ
ผู้ว่า กทม. – ส.ก. จากการแต่งตั้งจาก คสช. ถ้าอยากลงต่ออีกสมัย ต้องลาออกจากตำแหน่งก่อน 27 มี.ค.
อ่าน

ผู้ว่า กทม. – ส.ก. จากการแต่งตั้งจาก คสช. ถ้าอยากลงต่ออีกสมัย ต้องลาออกจากตำแหน่งก่อน 27 มี.ค.

ผู้ที่ คสช.แต่งตั้งให้ดำรงผู้บริหารท้องถิ่นต้องการจะลงสมัครในตำแหน่งผู้ว่ากทมฯ “ต้องลาออกจากตำแหน่งภายในสามวันนับแต่วันที่ประกาศวันเลือกตั้ง”
เลือกตั้งท้องถิ่น : รู้จักกรุงเทพมหานคร และเตรียมตัวก่อนไปเลือกตั้ง 22 พฤษภาคม
อ่าน

เลือกตั้งท้องถิ่น : รู้จักกรุงเทพมหานคร และเตรียมตัวก่อนไปเลือกตั้ง 22 พฤษภาคม

วันที่ 8 มีนาคม 2565 คณะรัฐมนตรีก็มีมติปลดล็อกให้ผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษกลับมามีที่มาจากประชาชนอีกครั้ง
มีชื่อในทะเบียนบ้านไม่ถึง 1 ปี ไม่มีสิทธิเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพฯ
อ่าน

มีชื่อในทะเบียนบ้านไม่ถึง 1 ปี ไม่มีสิทธิเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพฯ

แม้จะยังไม่มีประกาศวันเข้าคูหากาบัตรเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพฯ แต่ผู้ที่มีแผนจะย้ายทะเบียนบ้านจากจังหวัดอื่นมายังทะเบียนบ้านกรุงเทพฯ อาจต้องเตรียมพร้อมให้ดี เพราะกฎหมายกำหนดไว้ว่า หากใครมีชื่อในทะเบียนบ้านในกรุงเทพฯ ไม่ถึงหนึ่งปีก่อนวันเลือกตั้ง จะถือว่าไม่มีมีสิทธิเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพฯ และสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (สก.)