curfew
อ่าน

2 ปีพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ประเทศไทยอยู่ใต้เคอร์ฟิวไป 234 วัน

ภายใต้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ประกาศใช้เคอร์ฟิวสองรอบ จังหวัดที่อยู่ใต้เคอร์ฟิวนานที่สุด ไมสามารถออกจากบ้านตอนกลางคืนได้นานถึง 234 วัน เมื่อตัดสินใจจะผ่อนคลายก็ค่อยๆ ปรับเวลา และเปิดทีละนิดๆ 
curfew in france
อ่าน

ส่องประเทศเคยเคอร์ฟิว : ฝรั่งเศส ยกเลิกเคอร์ฟิว เดินหน้าฉีดวัคซีนเด็ก 12 ปีขึ้นไป

ฝรั่งเศส เป็นอีกหนึ่งประเทศที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 เป็นอันดับต้นๆ ของโลก ใช้มาตรการล็อคดาวน์เพื่อสู้กับโควิด-19 ถึงสามครั้ง และใช้มาตรการ "เคอร์ฟิว" ห้ามออกจากบ้านในยามวิกาลเป็นระยะๆ แต่ยกเลิกเคอร์ฟิวไปแล้วเมื่อ 20 มิถุนายน 2564 
clean
อ่าน

18 วันไม่พบผู้ติดเชื้อในประเทศ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หมดหน้าที่

ข้อมูลผู้ติดเชื้อตั้งแต่ 27 พฤษภาคม 2563 รวมทั้งสิ้นจำนวน 84 คน เป็นผู้ที่เดินทางกลับจากต่างประเทศทั้งสิ้น ดังนั้น มาตรการต่างๆ ที่จำกัดการใช้ชีวิตของประชาชนภายในประเทศ เช่น เคอร์ฟิว การปิดโรงเรียนและสถานศึกษา การจำกัดจำนวนคนเข้าใช้บริการในร้านอาหาร จึงไม่มีความจำเป็นเพื่อการควบคุมโรคอีกต่อไป 
ship Chonburi
อ่าน

ประชาชนต้องเดินหน้า หมดเวลา พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

ชาวประมงเผย เคอร์ฟิวทำให้ประกอบอาชีพไม่ได้ ดูแลเรือไม่ได้ เครือข่ายสลัม 4 ภาค ร้องต้องยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ซึ่งเป็นเพียงบันไดขั้นแรกเท่านั้นที่ต้องเยียวยาประชาชน หมอสุภัทรชี้ เคอร์ฟิวกระทบบุคลากรทางการแพทย์ด้วย นโยบายเหมาเข่งจากส่วนกลางมีผลข้างเคียง ใช้ พ.ร.บ.โรคติดต่อ ควบคุมโรคแบบที่ผ่านมาก็เพียงพอ  
Law's problem on Covid-19
อ่าน

ปัญหาทางกฎหมาย กรณี พล.อ.ประยุทธ์ ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ รับมือโควิด 19

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เป็น "ยาแรง" เพื่อรับมือกับโควิด 19 โดยรวบอำนาจการแก้ไขปัญหามาอยู่ในมือของนายกรัฐมนตรี ออกข้อกำหนดรวมแล้วหกฉบับ กำหนดข้อห้าม เงื่อนไข คำแนะนำ สิ่งที่อนุญาตให้ทำได้ รวมทั้งมอบหมายอำนาจให้กับตำแหน่งต่างๆ ซึ่งมีปัญหาในทางกฎหมายต้องพิจารณากันว่าถูกต้องและใช้ให้มีผลในทางกฎหมายได้อย่างไร
One month
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: หนึ่งเดือนหลังใช้ “ยาแรง” เราเห็นอะไรบ้าง

นับตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 จนถึง 11 พฤษภาคม 2563 เป็นเวลากว่าหนึ่งเดือนเศษที่รัฐบาล 'คสช.2' เลือกใช้ "ยาแรง" อย่าง พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หลังการประกาศใช้มาร่วมหนึ่งเดือนสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค "ดูดีขึ้น" จากตัวเลขผู้ติดเชื้อรายวันที่น้อยลง แต่คำถามถึงความจำเป็นในการบังคับใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และเหตุผลเบื้องลึกเบื้องหลังของการใช้ยังไม่จางหายไป
COVID related
อ่าน

รวมข้อกฎหมายอยากให้รู้ ช่วง COVID-19

ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 สังคมและวิถีชีวิตของผู้คนต้องปรับตัวอย่างเฉียบพลันครั้งใหญ่ รัฐบาลออกกฎหมายและมาตรการใหม่ๆ อย่างเร่งด่วนจนประชาชนตามไม่ทัน หน้านี้รวมข้อกฎหมายอยากให้รู้เท่าที่ไล่ตามได้ทัน เพื่อการปรับตัวให้อยู่ร่วมกันภายใต้บรรยากาศแบบใหม่ให้ได้อย่างเท่าทันที่สุด
Greece TN
อ่าน

รับมือโควิดในกรีซ: เยียวยา 800 ยูโร แม้ยังไม่ฟื้นจากวิกฤติเศรษฐกิจเรื้อรัง

ดินแดนแห่งปรัชญาเผชิญหน้าวิกฤติเศรษฐกิจมาตั้งแต่ปี 2009 และต้องมาเจอซ้ำช่วงโควิด แม้จะอยู่ใกล้อิตาลีแต่กรีซมีดีที่ติดตามสถานการณ์และออกตัวก่อนประเทศเพื่อนบ้าน จนนำไปสู่คำสั่งห้ามออกจากบ้านถ้าไม่มีเหตุจำเป็น และแม้ประเทศจะยังบอบช้ำรัฐบาลก็ยังให้เงินเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ
49804739703_d824f769ab_o
อ่าน

การดิ้นรนของคนจนเมืองใน “รัฐสงเคราะห์”

นุชนารถ แท่นทอง ที่ปรึกษาเครือข่ายสลัมสี่ภาค มองวิกฤติโควิดส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนจนเมืองและคนไร้บ้าน ทั้งภาวะความเครียด หนี้สิน และปัญหาปากท้อง รวมไปถึงปัญหาเรื่องการช่วยเหลือเยียวยาที่ไม่ตรงจุด ล่าช้า ไม่ทันท่วงที อันเกิดจากรัฐธรรมนูญที่มีกรอบเป็นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งส่งผลให้การบริหารงานในวิกฤติครั้งนี้ปราศจากการมีส่วนร่วมของประชาชนผู้ประสบปัญหา
5
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: ออกข้อกำหนดใหม่ 2 ฉบับ คงเคอร์ฟิว แต่ให้เปิดบางสถานที่

นายกรัฐมนตรีออกข้อกำหนด พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ใหม่ 2 ฉบับ ผ่อนคลาย กิจการและกิจกรรม บางประเภทเปิดดำเนินการได้ตั้งแต่วันที่ 3 พฤษภาคม ยังคงให้ประชาชนงดหรือชะลอการเดินทางข้ามจังหวัด