ต้นปี 2560 จำเลย 112 ทยอย ‘ยอมแพ้’ หลังคดีพิจารณานาน หวังอภัยโทษออกเร็วกว่า
อ่าน

ต้นปี 2560 จำเลย 112 ทยอย ‘ยอมแพ้’ หลังคดีพิจารณานาน หวังอภัยโทษออกเร็วกว่า

เมื่อถูกตั้งข้อหาดำเนินคดีทางอาญา ผู้ต้องหาทุกคนมีทางเลือกสองทาง คือ รับสารภาพ หรือให้การปฏิเสธและต่อสู้คดี การรับสารภาพมีรางวัลที่หอมหวาน คือ การลดโทษทันทีครึ่งหนึ่ง และระหว่างการคุมขังยังอาจได้รับการลดหย่อนโทษ หรืออภัยโทษในวาระสำคัญๆ ส่วนคนที่เชื่อว่า ตัวเองไม่ได้ทำอะไรผิดย่อมเลือกต่อสู้คดีเพื่อพิสูจน์ความบริสุทธ์ หากได้ประกันตัว การต่อสู้อาจจะนำมาซึ่งผลลัพธ์ที่พวกเขายอมแลก แต่สำหรับคดีทางการเมือง อย่าง คดีมาตรา 112 ที่ผู้ต้องหาจำน
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัด ‘สิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี’ โบกมือลาองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัด ‘สิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี’ โบกมือลาองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม

ยังมีความเห็นที่แตกต่างกันในสังคมว่า ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ จะช่วยคุ้มครองและทำให้สิทธิของชุมชนใช้ได้จริงในทางปฏิบัติมากขึ้นหรือน้อยลง เนื่องจากร่างนี้ ‘ตัดสิทธิ’ การแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อโครงการของรัฐ และตัดขั้นตอนการขอความเห็นชอบจากองค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมก่อนดำเนินโครงการต่างๆ
ซ้ำคดีที่สอง! ลุงเขียนหมิ่นฯ บนฝาห้องน้ำ จำคุกต่ออีกปีครึ่ง
อ่าน

ซ้ำคดีที่สอง! ลุงเขียนหมิ่นฯ บนฝาห้องน้ำ จำคุกต่ออีกปีครึ่ง

16 ตุลาคม 2558 ศาลทหารกรุงเทพ พิพากษาจำคุก ‘โอภาส’ 3 ปี จากข้อกล่าวหาว่าเขียนฝาผนังห้องน้ำเป็นข้อความหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ ตามมาตรา 112 หลังเคยถูกพิพากษาให้จำคุก 3 ปี จากการเขียนผนังห้องน้ำอีกห้องหนึ่งไปก่อนแล้ว  โอภาส อายุ 68 ปี อาชีพประกอบธุรกิจส่วนตัว ถูกพนักงานรักษาความปลอดภัยของห้างสรรพสินค้าซีคอนสแควร์ จับตัวได้เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2557 จากการเขียนผนังห้องน้ำของห้างฯ ก่อนประสานให้ทหารรับตัวไปดำเนินคดี โดยข้อความที่โอภาสเขียนมีเนื้อหาเกี่ยวกับการเมือง โจมตีการรัฐประหารของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา และพาดพิงถึงพระมหากษัตริย์ โอภาสถูกตั้งข้อหาตามประม
112 The Series
อ่าน

112 The Series

  112 The Series  Translated by Tyrell Haberkorn This is a series of stories about people who are prosecuted under Article 112 of the Criminal Code, or the lèse majesté law, from a perspective rarely seen by society. The stories weave together narratives about the personal lives of those prosecuted under Article 112.
Persons with an unsound mind are behind bars, when ‘sound mind’ persons move forward ‘justice system’
อ่าน

Persons with an unsound mind are behind bars, when ‘sound mind’ persons move forward ‘justice system’

“I am not crazy, they say that I am crazy so that the police won’t conduct the case” said Prachakchai through bars again and again. He still does not understand that the word ‘crazy’ is not an insulting word. However, it may be the only reason for him to obtain his release.  “I am not crazy. I went to see the doctor.
ย้อนรอยผลงานกวาดล้างคดีแอบอ้างสถาบันฯ: จาก ‘พงษ์พัฒน์’ ถึง ‘หมอหยอง’
อ่าน

ย้อนรอยผลงานกวาดล้างคดีแอบอ้างสถาบันฯ: จาก ‘พงษ์พัฒน์’ ถึง ‘หมอหยอง’

ช่วงเดือนตุลาคม 2558 มีข่าวลือเรื่องการออกหมายจับผู้ต้องหารายใหม่ที่แอบอ้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสถาบันพระมหากษัตริย์เพื่อเรียกรับผลประโยชน์ตอบแทน ในความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ ตามมาตรา 112 หรือที่เรียกว่า คดีแอบอ้างฯ และหนังสือพิมพ์หน้าหนึ่งหลายฉบับตีข่าวผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติแต่งตั้งคณะพนักงานสืบสวนคดีหมิ่นสถาบันเบื้องสูง พร้อมกับก็มีกระแสข่าวว่า “หมอหยอง” หรือ สุริยัน สุจริตพลวงศ์ หมอดูชื่อดัง คือ ผู้ต้องหาคดีแอบอ้างฯ รายใหม่ แม้ว่าเบื้องต้นทางตำรวจจะออกมาปฏิเสธ แต่แล้วข่าวลือก็กลายเป็นข่าวจริงเมื่อ “หมอหยอง” และพวกอีก 2 คน ถูกนำตัวมาฝากขังที่ศาลทหาร     &
Yutthasak: A taxi driver and the pricey fare paid for a conversation
อ่าน

Yutthasak: A taxi driver and the pricey fare paid for a conversation

A taxi driver’s working conditions compel him to sit alone in a narrow, confined space for the entire day. Many taxi drivers strike up conversation with their passengers to relieve their loneliness. The conversations are often about ordinary issues, such as the weather, sports, jobs, and politics. There is usually nothing special or memorable about the conversations. Once the taxi has reached its destination, and the passenger has paid the fare, the conversation is forgotten.
หลังลูกกรงมี ‘คนบ้า’ เมื่อ ‘คนไม่บ้า’ เดินหน้า ‘กระบวนการยุติธรรม’
อ่าน

หลังลูกกรงมี ‘คนบ้า’ เมื่อ ‘คนไม่บ้า’ เดินหน้า ‘กระบวนการยุติธรรม’

“ผมไม่ได้บ้านะ ที่เขาบอกว่าผมบ้าเพราะตำรวจจะได้ไม่ดำเนินคดีผม” ประจักษ์ชัย กล่าวผ่านลูกกรงซ้ำแล้วซ้ำเล่า เขายังไม่เข้าใจว่า “บ้า” ไม่ใช่คำด่า แต่อาจเป็นเหตุผลเดียวให้เขาออกจากหลังลูกกรงนั่น “ผมไม่ได้บ้าครับ ผมไปหาหมอมาแล้ว หมอเขาก็ไม่ได้ว่าผมเป็นอะไร” “ธเนศ” นักโทษอีกคนเล่า หลังไปหาหมอในเรือนจำแล้ว แต่ไม่ได้รับการวินิจฉัยใดๆ “ผมจำไม่ได้จริงๆ ตอนรู้ตัวก็คือผมนั่งอยู่ มีคนมายืนเต็มไปหมด” สมัคร เล่าถึงเหตุการณ์วันที่เขาก่อคดีที่อ่อนไหวที่สุดของยุคสมัย อันเป็นความผิดต่อ “ความมั่นคงของราชอาณาจั