แก้รัฐธรรมนูญภาคสาม: 3 เหตุผล “รื้อ” ที่มาองค์กรอิสระ
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญภาคสาม: 3 เหตุผล “รื้อ” ที่มาองค์กรอิสระ

องค์กรอิสระ คือ หนึ่งกลไกในการสืบทอดอำนาจ คสช. อย่างแท้จริง ที่มาขององค์กรอิสระต่างๆ ล้วนเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งมาจากกลไกของ คสช. แทบทั้งสิ้น ทำให้หล้กการตั้งต้นตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ที่คาดหวังว่าองค์กรอิสระเหล่านี้จะทำหน้าที่ตรวจสอบการรัฐบาลสูญสิ้นไป กลายเป็นเครื่องมือรักษาอำนาจของเผด็จการเท่านั้น  
7 ปี แห่งความถดถอย. : เมื่อการเมืองสองมาตรฐาน เพราะเกมถ่วงความยุติธรรม
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย. : เมื่อการเมืองสองมาตรฐาน เพราะเกมถ่วงความยุติธรรม

หลังการรัฐประหารปี 2557 องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญกลายเป็นส่วนของระบบเผด็จการ คสช. ตลอดเจ็ดปีที่ผ่านมา องค์กรเหล่านี้เข้ามายึดพื้นที่ทางการเมือง เป็นส่วนหนึ่งในการรักษาอำนาจ คสช. และทำลายฝ่ายตรงข้าม คสช.
กรรมการสิทธิฯ ชุดใหม่กำลังจะเริ่มงาน หลังสภา คสช. คัดสรรมา 4 รอบ
อ่าน

กรรมการสิทธิฯ ชุดใหม่กำลังจะเริ่มงาน หลังสภา คสช. คัดสรรมา 4 รอบ

หลังกรรมการสิทธิฯ ถูก “เซ็ตซีโร่” เมื่อปี 2560 บทบาทขององค์กรนี้ก็หายหน้าไป การสรรหาชุดใหม่ก็ช้า เพราะ สนช. “ไม่เห็นชอบ” ให้ใครมานั่งตำแหน่งนี้ง่ายๆ ลงมติไปสี่รอบจึงได้มา 6 จาก 7 คน
4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นถ้าร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนมีผลบังคับใช้
อ่าน

4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นถ้าร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนมีผลบังคับใช้

17 พฤศจิกายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีนัดพิจารณาญัตติการแก้ไขรัฐธรรมนูญ จากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเจ็ดฉบับ โดยหนึ่งในร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่จะถูกพิจารณา คือ ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ฉบับที่เสนอโดยประชาชน ซึ่งหากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนผ่านการเห็นชอบจากรัฐสภา และประกาศใช้อย่างเป็นทางการ สิ่งที่จะเกิดขึ้นกับเส้นทางข้างหน้าของการเมืองไทย มีอย่างน้อย 4 เรื่อง
ข้อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญเสนอโดยประชาชน “5 ยกเลิก 5 แก้ไข”
อ่าน

ข้อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญเสนอโดยประชาชน “5 ยกเลิก 5 แก้ไข”

ชวนทำความเข้าใจเนื้อหาและเหตุผลของ ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ 5 ยกเลิก 5 แก้ไขเพื่อ “รื้อระบอบอำนาจของคสช. “สร้าง” หนทางกลับสู่ประชาธิปไตย และเปิดทางให้เกิดการ “ร่าง” รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จากการมีส่วนร่วมของประชาชน
แก้ปัญหาการทำงานที่บกพร่องของ กกต. ต้องแก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

แก้ปัญหาการทำงานที่บกพร่องของ กกต. ต้องแก้รัฐธรรมนูญ

18 กรกฎาคม 2563 กลุ่ม New Consensus Thailand ได้จัดเวทีสาธารณะในหัวข้อ “กกต. ไทย อย่างไรต่อดี” วงเสวนาได้กล่าวถึงสภาพปัญหาเชิงโครงสร้างของ กกต. อำนาจนิยมที่แอบแฝงอยู่ในโครงสร้าง การทำงานของ กกต. ที่ขาดมาตรฐานชัดเจน และหนทางแก้ไขปัญหาทั้งระยะสั้นและระยะยาว
ส.ว.แต่งตั้ง: หลักประกันทางอำนาจของ คสช.
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: หลักประกันทางอำนาจของ คสช.

หากพิจารณาจาก “รัฐธรรมนูญ ปี 2560” ซึ่งถูกร่างขึ้นโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ผู้ทำการรัฐประหารในปี 2557 ก็จะพบว่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญต้องการให้ “วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้ง” เป็นหลักประกันทางอำนาจของคณะรัฐประหารที่ต้องการจะดำรงอยู่หลังการเลือกตั้ง ดังนั้น จึงต้องให้อำนาจ ส.ว. ไว้เป็นพิเศษ