Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา
อ่าน

Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา

1. วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ศาลอาญานัด ณัฐชนน ไพโรจน์ เบนจา อะปัญ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข ฟังคำพิพากษาในคดีดูหมิ่นศาลตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 198 จากกรณีที่ทั้งสามร่วมชุมนุมและปราศรัยที่หน้าศาลอาญาเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 เพื่อเรียกร้องสิทธิในการปล่อยตัวชั่วคราวให้กับจำเลยคดีการเมืองรวมทั้งคดีมาตรา 112 ที่ถูกคุมขังอยู่ในขณะนั้น
โทษในกฎหมาย “หมิ่น” ทั้งระบบ มรดกคณะรัฐประหาร 6ตุลาฯ
อ่าน

โทษในกฎหมาย “หมิ่น” ทั้งระบบ มรดกคณะรัฐประหาร 6ตุลาฯ

คณะรัฐประหารยึดอำนาจในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 และออกคำสั่งเปลี่ยนแปลงกฎหมายมากมาย หนึ่งในนั้นได้แก้ไขประมวลกฎหมายอาญาเพิ่มโทษ 12 มาตราที่เกี่ยวกับการ "หมิ่น" เป็นมรดกตกทอดไว้ในกฎหมายไทย เป็นอุปสรรคต่อเสรีภาพการแสดงออก การวิพากษ์วิจารณ์รัฐและสังคมต่อเนื่องมาทุกยุคสมัย
ประเทศตัวอย่างที่ “วิจารณ์ศาลได้” ไม่มีความผิด
อ่าน

ประเทศตัวอย่างที่ “วิจารณ์ศาลได้” ไม่มีความผิด

ในหลายประเทศที่ก้าวหน้าทางประชาธิปไตย เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร อินเดีย เปิดพื้นที่ให้ประชาชนทำหน้าที่ตรวจสอบศาลผ่านการวิพากษ์วิจารณ์
เปรียบเทียบ “ขอบเขต-บทลงโทษ” ในข้อหา “ดูหมิ่นศาล-ละเมิดอำนาจศาล”
อ่าน

เปรียบเทียบ “ขอบเขต-บทลงโทษ” ในข้อหา “ดูหมิ่นศาล-ละเมิดอำนาจศาล”

ศาลจะสามารถดำเนินกระบวนการพิจารณาคดีโดยไม่ต้องกังวลว่าจะถูกแทรกแซงหรือขัดขวางการทำงาน กฎหมายละเมิดอำนาจศาลจึงถูกกำหนดขึ้น