#ปล่อยเพื่อนเรา มีนักโทษการเมือง 30 คนในเรือนจำ
อ่าน

#ปล่อยเพื่อนเรา มีนักโทษการเมือง 30 คนในเรือนจำ

จนถึงวันที่ 21 กรกฎาคม 2565 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกคุมขังระหว่างการสอบสวนและระหว่างที่คดียังไม่ถึงที่สุดอย่างน้อย 30 คน นับจากกระแสเรียกร้องทางการเมืองรอบใหม่ หลังการชุมนุมของเยาวชนปลดแอกในปี 2563 การคุมขังนักเคลื่อนไหวทางการเมืองเกิดขึ้นเป็นระลอกๆ ตามบรรยากาศการชุมนุมเรียกร้องที่ขยายตัวขึ้นและลง ครั้งนี้ถือเป็นระลอกที่สี่แล้ว ไล่เรียงมาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563, เดือนกุมภาพันธ์ 2564, เดือนสิงหาคม 2564 และเดือนมีนาคม 2565 ในเดือนเมษายน 2565 มีการไต่สวนเพิกถอนสัญญาประกันของผู้ต้องหาคดีมาตรา 112 ทั้งสิ้น
บ้านทะลุฟ้าในคืนนี้ ไม่มีเสียงกวีของพี่แซม
อ่าน

บ้านทะลุฟ้าในคืนนี้ ไม่มีเสียงกวีของพี่แซม

“หมดจิตหมดใจจะใฝ่ฝัน การสร้างสรรค์ย่อมสิ้นแผ่นดินหมอง กลัวน้ำตาไหลหลั่งดั่งน้ำนอง ก็จะต้องเห็นแก่ตัวชั่วนิรันดร์…”    
ตี้ ผู้อาสาขึ้นอ่านแถลงการณ์หน้าสถานทูตเยอรมนี
อ่าน

ตี้ ผู้อาสาขึ้นอ่านแถลงการณ์หน้าสถานทูตเยอรมนี

26 ตุลาคม 2563 ผู้ชุมนุมราษฎรในสภาพ “ไร้แกนนำ” รวมตัวกันที่หน้าห้างสามย่านมิตรทาวน์เพื่อเดินขบวนไปยังสถานทูตเยอรมนี เพื่อยื่นหนังสือให้ทางการเยอรมนีตรวจสอบว่า พระมหากษัตริย์ไทยได้ใช้พระราชอำนาจในการบริหารราชการแผ่นดินระหว่างทรงประทับในเขตอำนาจอธิปไตยของเยอรมนีหรือไม่ การชุมนุมครั้งนี้เกิดขึ้นในสภาวะที่ผู้มีบทบาทนำในการชุมนุม เช่น ทนายอานนท์ นำภา, รุ้ง ปนัสยา และเพนกวิน พริษฐ์ กำลังถูกคุมขังในเรือนจำหลังถูกจับกุมตั้งแต่ 15 ตุลาคม 2563 เมื่อผู้มีบทบาทนำในการปราศรัยถูกคุมขังไปหลายคน ผู้ชุมนุมราษฎรจึงปรับขบวนใหม่นัดหมายชุมนุมแบบไม่เน้นการปราศรัย เน้นการเติบโตพร้อมกั
ผู้แทนไทยแจงกลางวง UPR แก้ 112 เป็นเรื่องของสภา นานาชาติห่วงใช้กฎหมายขวางการแสดงออก
อ่าน

ผู้แทนไทยแจงกลางวง UPR แก้ 112 เป็นเรื่องของสภา นานาชาติห่วงใช้กฎหมายขวางการแสดงออก

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2564 คณะผู้แทนไทยนำโดยธานี ทองภักดี ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เข้าสู่กระบวนการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (Universal Periodic Review หรือ UPR) ซึ่งเป็นกลไกลภายใต้คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Human Rights Council) ที่ประเทศสมาชิกสหประชาชาติกว่า 193 ประเทศจะต้องเข้าร่วมโดยแต่ละรอบจะมีระยะห่างสี่ปีครึ่ง โดยในครั้งนี้ถือเป็นครั้งที่สามแล้วที่ไทยจะต้องชี้แจงสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนต่อชาติสมาชิกสหประชาชาติ และต้องรับฟังข้อเสนอจากชาติสมาชิกสหประชาชาติอื่นๆ ภายใต้กลไก UPR ประเทศที่ถูกทบท