สนช. งัดเทคนิคใหม่ ขยายเวลาบังคับใช้กฎหมายเลือกตั้ง ส.ส. ยืดเลือกตั้งเพิ่ม 90 วัน
อ่าน

สนช. งัดเทคนิคใหม่ ขยายเวลาบังคับใช้กฎหมายเลือกตั้ง ส.ส. ยืดเลือกตั้งเพิ่ม 90 วัน

ยังไม่มีความแน่นอนว่าเดือนพฤศจิกายน 2561 จะมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตามที่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เคยลั่นวาจาไว้หรือไม่ เพราะมีแนวโน้มว่าโรดแมปตามรัฐธรรมนูญ 2560 จะถูกเลื่อนไปอีกถึง 90 วัน หรือสามเดือน หากที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส. เหตุที่โรดแมบจะถูกขยับออกไปอีก 90 วัน เพราะคณะกรรมการวิสามัญพิจารณาร่างพ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส.
รู้จัก ระบบการคัดเลือกผู้สมัครขั้นต้น หรือ ไพรมารีโหวต (Primary Vote) ในพ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ
อ่าน

รู้จัก ระบบการคัดเลือกผู้สมัครขั้นต้น หรือ ไพรมารีโหวต (Primary Vote) ในพ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ

กติกาการเลือกตั้งส.ส.ครั้งนี้ไม่เหมือนการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา สิ่งหนึ่งที่แตกต่างคือ การมีระบบการคัดเลือกผู้สมัครขั้นต้น หรือ ระบบ Primary Vote กล่าวคือ ก่อนการเลือกตั้งจริงทุกพรรคการเมืองจะต้องจัดการเลือกขั้นต้น เพื่อให้สมาชิกพรรคลงคะแนนเลือกว่า ใครจะเป็นตัวแทนของพรรคที่จะลงสมัครรับเลือกตั้งประจำเขตต่างๆ ก่อน
4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ
อ่าน

4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงที่ให้ ส.ว.สามารถเลือกนายกฯ ผ่านการออกเสียงประชามติ ส่งผลให้ กรธ.ต้องแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญให้สอดคล้องกับคำถามพ่วง ซึ่งขนาดนี้มีการพูดถึงแนวทางการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญถึงสี่แนวทาง
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: รีวิวระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมของมีชัย
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: รีวิวระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมของมีชัย

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติของมีชัย ฤชุพันธ์ุ ยังยืนยันในรูปแบบที่คิดค้นขึ้นใหม่ คือระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม หรือ MMA โดยเชื่อมั่นว่าจะช่วยให้เสียงทุกเสียงมีความหมาย ขณะที่นักวิชาการพรรคการเมืองสะท้อนว่าจะส่งผลให้พรรคการเมืองอ่อนแอ เกิดรัฐบาลผสมที่ไร้เสถียรภาพ มีโอกาสที่จะซื้อเสียงมากขึ้น และไม่สะท้อนเจตนารมณ์ของผู้ออกเสียง ฯลฯ
กระบวนการพิจารณาออกกฎหมายตามร่างรัฐธรรมนูญ 2558
อ่าน

กระบวนการพิจารณาออกกฎหมายตามร่างรัฐธรรมนูญ 2558

รัฐธรรมนูญฉบับ 'คสช.' ได้กำหนดรูปแบบกระบวนการพิจารณาออกกฎหมายใหม่ จากเดิมที่ให้สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้พิจารณากฎหมายและวุฒิสภามีหน้าที่กลั่นกรองตรวจสอบ กลายเป็นให้อำนาจพิจารณากฎหมายบางประเภทกับวุฒิสภา ซึ่งมาจากการสรรหา และการเลือกตั้งผู้ที่กลั่นกรองแล้ว นอกจากนี้ยังมีแนวทางใหม่สำหรับกฎหมายที่ถูกเสนอโดยประชาชน ว่าอาจจะมีการลง 'ประชามติ'