สำนักเลขาธิการ ส.ว. ปฏิเสธไม่ให้ข้อมูลคณะทำงาน ส.ว. ไอลอว์พร้อมอุทธรณ์
อ่าน

สำนักเลขาธิการ ส.ว. ปฏิเสธไม่ให้ข้อมูลคณะทำงาน ส.ว. ไอลอว์พร้อมอุทธรณ์

สำนักเลขาธิการวุฒิสภาได้ส่งหนังสือตอบกลับมีใจความปฏิเสธการร้องขอข้อมูลคณะทำงานของ ส.ว. โดยอ้างว่าเป็นข้อมูลส่วนบุคคล โดยไอลอว์จะยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารต่อไป 
เปิดชื่อ ส.ว. แต่งตั้งญาติเป็นผู้ช่วย 50 คน รับเงินเดือนหลักหมื่น พบทหาร คนใกล้ชิด คสช. อีกกว่าครึ่งพัน
อ่าน

เปิดชื่อ ส.ว. แต่งตั้งญาติเป็นผู้ช่วย 50 คน รับเงินเดือนหลักหมื่น พบทหาร คนใกล้ชิด คสช. อีกกว่าครึ่งพัน

การแต่งตั้งคนใกล้ชิดเพื่อมารับค่าตอบแทนรายเดือนยังคงทำเป็น “อุตสาหกรรม” ขนาดใหญ่ไม่ต่างจากในยุคของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เพียงแต่ซ่อนรูปอยู่ใน ส.ว.แต่งตั้ง ที่เครือญาติคนรู้จักยังได้ประโยชน์อย่างมหาศาลอยู่เช่นเดิม
กรรมการ กสทช. ชุดใหม่กำลังมา หลังถูก คสช. แช่แข็งกระบวนการจนอยู่ครบทศวรรษ
อ่าน

กรรมการ กสทช. ชุดใหม่กำลังมา หลังถูก คสช. แช่แข็งกระบวนการจนอยู่ครบทศวรรษ

คณะกรรมการกสทช. ชุดแรกดำรงตำแหน่งมาอย่างยาวนานเป็นเวลาถึง 10 ปี นับตั้งแต่ปี 2554  สาเหตุที่อยู่มาได้นานก็เพราะสภาแต่งตั้งของ คสช. ช่วยกันคว่ำกระดานยื้อเวลาการสรรหาชุดใหม่ออกไปเรื่อยๆ ประกอบกับ คสช. ก็ใช้อำนาจ "มาตรา44" ระงับการสรรหากรรมการชุดใหม่
แก้รัฐธรรมนูญ: ถึงรัฐธรรมนูญจะแก้ง่ายขึ้นแต่เกมส์การแก้ยังอยู่ในมือ คสช.
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: ถึงรัฐธรรมนูญจะแก้ง่ายขึ้นแต่เกมส์การแก้ยังอยู่ในมือ คสช.

มาตรา 256 ของรัฐธรรมนูญ 2560 หรือมาตราที่ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการแก้รัฐธรรมนูญ คือ กุญแจสำคัญในการปลดล็อกการเมืองไทยออกจากวังวนอำนาจของคสช. และพาประเทศกลับสู่ระบอบประชาธิปไตยเต็มไปได้อีกครั้ง ด้วยเหตุนี้ จึงมีความพยายามของรัฐสภาที่จะแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญในวาระสองเพื่อทำให้รัฐธรรมนูญแก้ง่ายขึ้น โดยให้ใช้เสียง "สามในห้า" ของรัฐสภา แต่ทว่า หลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าวก็ยังคงทำให้คสช. เป็นฝ่ายได้เปรียบอยู่ดี  
แก้รัฐธรรมนูญ: สภาลงมติวาระสอง เปิดทางแก้รัฐธรรมนูญโดยอาศัยเสียง 3 ใน 5 ของรัฐสภา
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สภาลงมติวาระสอง เปิดทางแก้รัฐธรรมนูญโดยอาศัยเสียง 3 ใน 5 ของรัฐสภา

24 ก.พ. 64 รัฐสภาลงมติร่างแก้รัฐธรรมนูญวาระสอ โดยคงมาตรา 3 ซึ่งเป็นการแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 256 ตามร่างแก้รัฐธรรมนูญที่รัฐสภาเห็นชอบในวาระหนึ่ง
กรรมการสิทธิฯ ชุดใหม่กำลังจะเริ่มงาน หลังสภา คสช. คัดสรรมา 4 รอบ
อ่าน

กรรมการสิทธิฯ ชุดใหม่กำลังจะเริ่มงาน หลังสภา คสช. คัดสรรมา 4 รอบ

หลังกรรมการสิทธิฯ ถูก “เซ็ตซีโร่” เมื่อปี 2560 บทบาทขององค์กรนี้ก็หายหน้าไป การสรรหาชุดใหม่ก็ช้า เพราะ สนช. “ไม่เห็นชอบ” ให้ใครมานั่งตำแหน่งนี้ง่ายๆ ลงมติไปสี่รอบจึงได้มา 6 จาก 7 คน
ถ้าร่างแก้รัฐธรรมนูญผ่านปีนี้ ปลายปีหน้าได้รัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

ถ้าร่างแก้รัฐธรรมนูญผ่านปีนี้ ปลายปีหน้าได้รัฐธรรมนูญใหม่

ในเดือนกันยายน 2563 คาดว่าจะมีการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญอย่างน้อยสองฉบับ โดยสาระสำคัญของร่างแก้รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับมีจุดร่วมกัน คือ การเปิดทางให้มีการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน และต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งถึงสองปี 
‘ปิติพงษ์’ ยื่นสามเรื่อง ขอถอดถอนอดีต สนช. ที่นั่งยาวเป็น ส.ว.
อ่าน

‘ปิติพงษ์’ ยื่นสามเรื่อง ขอถอดถอนอดีต สนช. ที่นั่งยาวเป็น ส.ว.

ปิติพงษ์ เต็มเจริญ อดีตโฆษกพรรคเสรีรวมไทย ยื่นหนังสือต่อประธาน กกต. ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน และประธานรัฐสภา เพื่อให้สามองค์กรส่งเรื่องต่อไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยความเป็นสมาชิกภาพของอดีต สนช.ที่ขณะนี้ดำรงตำแหน่ง ส.ว.และกรรมการ ป.ป.ช. ว่า ขาดคุณสมบัติตามกฎหมายและให้สิ้นสุดการปฏิบัติหน้าที่
สภาเห็นชอบ พ.ร.ก.กู้เงิน 1.9 ล้านล้าน: ส.ส. มีเสียงค้าน แต่ ส.ว.ผ่านฉลุย!
อ่าน

สภาเห็นชอบ พ.ร.ก.กู้เงิน 1.9 ล้านล้าน: ส.ส. มีเสียงค้าน แต่ ส.ว.ผ่านฉลุย!

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติเกี่ยวกับ พ.ร.ก.เงินกู้ สามฉบับ หลังจากมีการอภิปรายถึงห้าวัน ผลคือ เห็นชอบให้ผ่าน พ.ร.ก.ทั้งสามฉบับ และได้ส่งต่อไปให้วุฒิสภาพิจารณา และลงมติอีกครั้ง ซึ่งที่ประชุม ส.ว.ใช้เวลาทั้งหมดสองวัน และลงมติเห็นชอบทั้งสามฉบับโดยไม่มี ส.ว. คนใดไม่เห็นชอบเลย