ก่อนเลือกตั้ง 8 เรื่องต้องรู้เกี่ยวกับ ส.ว.
อ่าน

ก่อนเลือกตั้ง 8 เรื่องต้องรู้เกี่ยวกับ ส.ว.

วันที่ 13 ก.ย. 2561 ร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยการได้มาซึ่ง ส.ว. บังคับใช้ มีอย่างน้อยแปดประเด็นที่ควรรู้เกี่ยว ส.ว. เช่น ส.ว.มาจากการแต่งตั้ง ผบ.ทุกเหล่าทัพ เป็น ส.ว.โดยตำแหน่ง และ ส.ว. แต่งตั้งชุดนี้ยังมีบทบาทและอำนาจอีกมากในการเมืองไทยหลังเลือกตั้ง
รัฐธรรมนูญ 2560 ห้าม สนช. ครม. เป็น ส.ส. แต่ไม่ห้ามเป็น ส.ว.
อ่าน

รัฐธรรมนูญ 2560 ห้าม สนช. ครม. เป็น ส.ส. แต่ไม่ห้ามเป็น ส.ว.

สมาชิก สนช. และ ครม. มาจากการแต่งตั้งใครก็ได้ในตอนแรก แต่เมื่อรัฐธรรมนูญ 2560 บังคับใช้ คุณสมบัติของผู้ใช้อำนาจก็ต้องเป็นไปตามรัฐธรรมนูญด้วย ทำให้สมาชิก สนช. และ ครม. มีเรื่องต้องถูกตรวจสอบมากขึ้น แต่ยังยกเว้นให้เป็นข้าราชการไปด้วย นั่งในสภาไปพร้อมกันได้
ร่างยุทธศาสตร์คสช.  ผ่านแล้ว มีอะไรต้องติดตามกันต่อ?
อ่าน

ร่างยุทธศาสตร์คสช. ผ่านแล้ว มีอะไรต้องติดตามกันต่อ?

เมื่อร่างยุทธศาสตร์คสช. หรือที่ถูกเรียกอย่างสวยหรูโดยรัฐบาลของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ว่า "ร่างยุทธศาสตร์ชาติ" ผ่านความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ยังมีประเด็นที่เราต้องติดตามกันต่ออีกหลายประเด็น เช่น การร่างแผนแม่บทของคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ การแต่งคณะกรรมการชุดต่างๆ ในตำแหน่งที่เหลือ เป็นต้น 
7 เรื่องต้องรู้: อ่าน “รัฐธรรมนูญ 2560” ฉบับเร่งรัด
อ่าน

7 เรื่องต้องรู้: อ่าน “รัฐธรรมนูญ 2560” ฉบับเร่งรัด

วันนี้ถือเป็นวันที่ “รัฐธรรมนูญ 2560” จะมีการประกาศใช้และกลายเป็นกฎหมายสูงสูงของประเทศโดยสมบูรณ์ ดังนั้น จึงพลาดไม่ได้ที่จะต้องอ่านทวนซ้ำๆ ว่าอะไรคือสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญฉบับนี้บ้าง
เปิดร่างกฎหมายลูก “ที่มา ส.ว.” ใช้ 20 กลุ่มอาชีพ “คัดเลือกกันเอง”
อ่าน

เปิดร่างกฎหมายลูก “ที่มา ส.ว.” ใช้ 20 กลุ่มอาชีพ “คัดเลือกกันเอง”

พ.ร.ป.ว่าด้วยการได้มาซึ่ง ส.ว. เป็นหนึ่งในกฎหมายลูกที่ กรธ. ต้องร่างให้เสร็จตามรัฐธรรมนูญที่ตนได้วางไว้ โดยเนื้อหาสาระของกฎหมายก็คือ การขยายบทบัญญัติรัฐธรรมนูญให้ชัดเจนขึ้น เช่น จำนวนและประเภทของกลุ่มอาชีพที่ให้ลงสมัคร หรือวิธีการคัดเลือกกันเองทั้งแบบภายในกลุ่มและข้ามกลุ่ม รวมถึงการกำหนดเงื่อนไขคัดกรองผู้ลงสมัคร