สำรวจเสรีภาพเพื่อนบ้าน ชะตากรรมชาวลาวที่(กล้า)วิพากษ์โครงการพัฒนา
อ่าน

สำรวจเสรีภาพเพื่อนบ้าน ชะตากรรมชาวลาวที่(กล้า)วิพากษ์โครงการพัฒนา

สำรวจสถานการณ์เสรีภาพเพื่อนบ้านอย่าง สปป.ลาว หนักหนาไม่แพ้กันและอาจยิ่งกว่า โดยเฉพาะโครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังงานน้ำเซเปียน เซน้ำน้อย ที่มุ่งขายไฟฟ้าส่วนใหญ่ให้ไทย ภายใต้กระแสไฟฟ้าที่เราจะได้ใช้ คนที่นั่นต้องจ่ายราคาอย่างไรบ้าง
ประชาชนขยับ จี้รัฐบาลต้องแก้ไขฝุ่น PM2.5 อย่างยั่งยืน เปิดให้ประชาชนร่วมกำหนดนโยบายจัดการฝุ่น
อ่าน

ประชาชนขยับ จี้รัฐบาลต้องแก้ไขฝุ่น PM2.5 อย่างยั่งยืน เปิดให้ประชาชนร่วมกำหนดนโยบายจัดการฝุ่น

23 มกราคม 2563 ภาคประชาสังคมนำโดยกรีนพีซ ประเทศไทย, มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม, มูลนิธิบูรณะนิเวศ, มูลนิธิชีววิถี (BIOTHAI), มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค, Friend Zone และ Climate Strike Thailand จัดกิจกรรม “พอกันที ขออากาศดีคืนมา” เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลลงมือทำเพื่อปกป้องสุขภาพของประชาชนจากวิกฤตฝุ่น PM2.5 โดยดำเนินมาตรการที่สอดคล้อง มีประสิทธิภาพ ยั่งยืนและเป็นธรรม รวมถึงการยกระดับมาตรฐานปัญหาฝุ่น PM2.5 ให้เข้มงวด ตลอดจนการปฏิรูปนโยบายสิ่งแวดล้อม เช่น กฎหมายอากาศสะอาด กฎหมายทำเนียบการเคลื่อนย้ายและปลดปล่อยมลพิษสู่สิ่งแวดล้อม
เปิดดูแนวคิดการแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 ในแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี พบว่า … ไม่มี
อ่าน

เปิดดูแนวคิดการแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 ในแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี พบว่า … ไม่มี

ท่ามกลางสภาพปัญหาอากาศเป็นพิษ เต็มไปด้วยฝุ่นควันขนาดเล็กในเมืองใหญ่ โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครที่นับวันดูเหมือนปัญหาจะยิ่งหนักขึ้น
รวม 6 ผลงาน ส่งเสริมทุน-ลดทอนสิ่งแวดล้อม ภายใต้เงา คสช.
อ่าน

รวม 6 ผลงาน ส่งเสริมทุน-ลดทอนสิ่งแวดล้อม ภายใต้เงา คสช.

หลัง คสช. เข้ายึดอำนาจ คสช. พยายามกระตุ้นเศรษฐกิจและพยายามส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศ ไม่ว่าจะเป็น การผลักดันเรื่อง "เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ" "การจัดการระบบสัปทานแร่" "การกำกับดูแลโรงงาน"  แต่ปัญหาของการพยายามกระตุ้นเศรษฐกิจภายใต้ คสช. ได้ลดทอนมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมลงเพื่ออำนวยความสะดวกให้กลุ่มทุน
อ่าน

ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ด้านสิ่งแวดล้อม: ตั้งเป้าใช้พลังงานหมุนเวียนร้อยละ 40

การจัดทำร่างยุทธศาสตร์ชาติ ด้านสิ่งแวดล้อม รัฐบาล คสช. แต่งตั้งธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล ประธานคณะกรรมการฯ และมีคณะกรรมการอีก 8 คน หลังจัดรับฟังความคิดเห็นประชาชนร่างยุทธศาสตร์ชาติฉบับนี้จะถูกแก้ไขเพิ่มเติมก่อนจะถูกเสนอต่อคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ
ถอดบทเรียนบาดแผลจาก ‘อีสเทิร์นซีบอร์ด’ ก่อนไปถึง ‘อีอีซี’
อ่าน

ถอดบทเรียนบาดแผลจาก ‘อีสเทิร์นซีบอร์ด’ ก่อนไปถึง ‘อีอีซี’

ในวันที่รัฐกำลังเร่งผลักดัน โครงการ 'เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก' หรือ 'อีอีซี' เราเลือกจะมาคุยกับ 'สมนึก จงมีวศิน' นักวิชาการอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เพื่อถอดบทเรียนบาดแผลการพัฒนาก่อนจะก้าวพลาดซ้ำรอยแผลเดิมอีกครั้ง 
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัด ‘สิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี’ โบกมือลาองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัด ‘สิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี’ โบกมือลาองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม

ยังมีความเห็นที่แตกต่างกันในสังคมว่า ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ จะช่วยคุ้มครองและทำให้สิทธิของชุมชนใช้ได้จริงในทางปฏิบัติมากขึ้นหรือน้อยลง เนื่องจากร่างนี้ ‘ตัดสิทธิ’ การแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อโครงการของรัฐ และตัดขั้นตอนการขอความเห็นชอบจากองค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมก่อนดำเนินโครงการต่างๆ
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ “ความหวัง” หรือ “หายนะ”?
อ่าน

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ “ความหวัง” หรือ “หายนะ”?

กว่าห้าทศวรรษรัฐบาลพยายามทั้งเดินหน้าทั้งหยุดโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ หนึ่งก็ด้วยการต่อต้านในพื้นที่ต่างๆ อีกหนึ่งก็คือการเปลี่ยนทางเลือกใช้พลังงานในระดับโลก ตอนนี้ยุคของรัฐบาล คสช. แผนการจัดสร้างโรงไฟฟ้าถูกอนุมัติอีกครั้ง สำหรับประเทศไทยจะเป็น “ความหวัง” หรือ “หายนะ”?