ประเทศไทยใช้หลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าทำผิด- ปริญญา เสนอถึงเวลาต้องแก้ 
อ่าน

ประเทศไทยใช้หลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าทำผิด- ปริญญา เสนอถึงเวลาต้องแก้ 

ผศ.ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล บรรยาย หัวข้อ “รัฐธรรมนูญไทยกับการคุ้มครองสิทธิประชาชนและนักปกป้องสิทธิมนุษยชน” ในโอกาสวันสิทธิมนุษยชนสากล ณ สภาทนายความ
[อัพเดท!] สำหรับผู้ที่ร่วมลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

[อัพเดท!] สำหรับผู้ที่ร่วมลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ

[อัพเดท!] สำหรับผู้ที่ร่วมลงชื่อ #แก้รัฐธรรมนูญ ตอนนี้สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรตรวจสอบเอกสารหลักฐานการลงชื่อและตรวจสอบความถูกต้องของผู้ที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม จำนวน 98,824 คน เสร็จเรียบร้อยแล้ว
สิทธิหน้าที่ของ “พลเมือง” ในร่างรัฐธรรมนูญ 2558
อ่าน

สิทธิหน้าที่ของ “พลเมือง” ในร่างรัฐธรรมนูญ 2558

ร่างรัฐธรรมนูญ 2558 หมวดที่ 2 ประชาชน กำหนดความเป็นพลเมืองและหน้าที่พลเมือง สิทธิการมีส่วนร่วมทางการเมือง และการตรวจสอบการใช้อำนาจ พร้อมแบ่งแยก "สิทธิมนุษยชน" กับ "สิทธิพลเมือง" ออกจากกัน ทำให้คนที่ไม่มีสัญชาติไทยจะไม่ได้รับสิทธิบางประการ  
“ร่วมจับตาอนาคต ที่คนกำหนดไม่ใช่เรา”
อ่าน

“ร่วมจับตาอนาคต ที่คนกำหนดไม่ใช่เรา”

รวมประเด็นที่น่าสนใจรายวัน เกี่ยวกับการอภิปรายร่างรัฐธรรมนูญของ สปช. ระหว่างวันที่ 20-26 เมษายน 2558
ข้อคิดเห็นต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะ ในสายตานักกฎหมายและภาคประชาชน
อ่าน

ข้อคิดเห็นต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะ ในสายตานักกฎหมายและภาคประชาชน

วันนี้ (24 มีนาคม 2558) สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนและภาคประชาชนมากกว่า 20 องค์กร เดินทางไปยื่นข้อเสนอและคัดค้าน ร่าง พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ กับสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยมีประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ สร้างเงื่อนไขในการจำกัดเสรีภาพในการชุมนุม การตัดอำนาจศาลปกครอง เรื่องการรับผิดร่วมระหว่างผู้ชุมนุมและผู้จัดการชุมนุม เป็นต้น
กติการะหว่างประเทศ ผู้พิทักษ์เสรีภาพในวันไร้รัฐธรรมนูญ
อ่าน

กติการะหว่างประเทศ ผู้พิทักษ์เสรีภาพในวันไร้รัฐธรรมนูญ

แม้การรัฐประหาร จะทำให้รัฐธรรมนูญ 50 ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุด ที่ให้ความคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของคนไทย สิ้นสุดลง แต่ผู้มีอำนาจรัฐ ก็ไม่สามารถจะใช้อำนาจได้ใจชอบ เพราะไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตามกติการะหว่างประเทศ ว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง