#สมรสเท่าเทียม ยังไปต่อได้! ถ้าครม. ชุดหน้าขอให้สภาพิจารณาต่อ
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม ยังไปต่อได้! ถ้าครม. ชุดหน้าขอให้สภาพิจารณาต่อ

28 กุมภาพันธ์ 2566 จะเป็นวันปิดสมัยประชุมสุดท้ายของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่มาจากการเลือกตั้งปี 62 หากร่างกฎหมายใดที่พิจารณาไม่ทันสภาชุดนี้ ก็จะเป็นอันตกไป หนึ่งในร่างกฎหมายที่อาจพิจารณาไม่ทันคือ #สมรสเท่าเทียม อย่างไรก็ดี รัฐธรรมนูญ 60 ก็ยังเปิดช่องให้ร่างกฎหมายที่ตกไป มีทางไปต่อได้
RECAP2022: รวมไฮไลท์ความเคลื่อนไหวกฎหมายในสภาตลอดปี
อ่าน

RECAP2022: รวมไฮไลท์ความเคลื่อนไหวกฎหมายในสภาตลอดปี

ในปี 2565 ทั้งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภามีการพิจารณากฎหมายสำคัญหลายฉบับ โดยมีอย่างน้อยห้าฉบับ ที่เราอยากนำมาเล่าเพื่อให้เห็นความเคลื่อนไหวของกฎหมายในสภาตลอดปีนี้
เตรียมจับตา! ร่าง พ.ร.บ. #สมรสเท่าเทียม – #คู่ชีวิต ผ่านวาระแรก แต่ยังเหลืออีกหลายด่าน
อ่าน

เตรียมจับตา! ร่าง พ.ร.บ. #สมรสเท่าเทียม – #คู่ชีวิต ผ่านวาระแรก แต่ยังเหลืออีกหลายด่าน

15 มิถุนายน 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติรับหลักการ ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการ #สมรสเท่าเทียม และ #คู่ชีวิต จำนวน 4 ฉบับ ได้แก่ ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ที่พรรคก้าวไกลเสนอ, ร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต ที่คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอ, ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอ และสุดท้าย ร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต ที่ อิสระ เสรีวัฒนวุฒิ ส.ส. พรรคประชาธิปัตย์ และคณะ เป็นผู้เสนอ 
สภารับหลักการร่างแก้กฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม และร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต จับตาต่อวาระสอง-สาม
อ่าน

สภารับหลักการร่างแก้กฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม และร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต จับตาต่อวาระสอง-สาม

15 มิถุนายน 2565 สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่างพ.ร.บ.แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม ซึ่งเสนอโดยส.ส.พรรคก้าวไกล และร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิตสองฉบับ หนึ่งฉบับเสนอโดยครม. อีกหนึ่งฉบับเสนอโดยส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ 
เทียบชัดๆ ร่างพ.ร.บ.แก้ประมวลกฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม ร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต ต่างกันยังไง?
อ่าน

เทียบชัดๆ ร่างพ.ร.บ.แก้ประมวลกฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม ร่างพ.ร.บ.คู่ชีวิต ต่างกันยังไง?

15 มิถุนายน 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่ง #สมรสเท่าเทียม ที่เสนอโดยส.ส.พรรคก้าวไกล และร่างกฎหมายคู่ชีวิต 2 ฉบับ ซึ่งเสนอโดยครม. และส.ส.พรรคประชาธิปัตย์
สภายังไม่ได้ลงมติ #สมรสเท่าเทียม หลังพิจารณาร่างพ.ร.บ.กัญชา-กัญชง กว่า 6 ชั่วโมง
อ่าน

สภายังไม่ได้ลงมติ #สมรสเท่าเทียม หลังพิจารณาร่างพ.ร.บ.กัญชา-กัญชง กว่า 6 ชั่วโมง

8 มิ.ย. 2565 เดิมสภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาร่างกฎหมายที่ต้องลงมติ “รับหลักการ” ในวาระหนึ่ง สามฉบับ ได้แก่ 1) ร่างพ.ร.บ.กัญชา กัญชง 2) ร่างพ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต #สุราก้าวหน้า และ 3) ร่างพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม แต่สภาพิจารณาแล้วเสร็จแค่สองฉบับแรก สมรสเท่าเทียมจึงต้องลุ้นต่อ 15 มิ.ย. 2565
หน่วยงานรัฐไหนบ้าง? เห็นด้วยกับการแก้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม
อ่าน

หน่วยงานรัฐไหนบ้าง? เห็นด้วยกับการแก้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ #สมรสเท่าเทียม

เมื่อ 9 ก.พ. 2565 ครม. อุ้มร่างกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม ไปศึกษาก่อนที่สภาจะลงมติรับหลักการ โดยจัดรับฟังความเห็นจากหน่วยงานรัฐ หน่วยงานรัฐแปดหน่วยงานที่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายดังกล่าว ขณะที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้ความเห็นต่อครม. ว่าไม่สมควรรับหลักการ
จับตา #ประชุมสภา พิจารณากฎหมายน่าสนใจหลายฉบับ
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา พิจารณากฎหมายน่าสนใจหลายฉบับ

 6-10 มิ.ย. 2565 ฝ่ายนิติบัญญัติมีกำหนดนัดพิจารณาร่างกฎหมายที่น่าจับตาหลายฉบับ อาทิ ร่างพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต #สุราก้าวหน้า ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ #สมรสเท่าเทียม และร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งแก้ไขให้สอดคล้องกับการแก้รัฐธรรมนูญเรื่องระบบเลือกตั้ง  
ประชุมสภา: จับตากฎหมายค้างท่อ อย่างน้อย 40 ฉบับ
อ่าน

ประชุมสภา: จับตากฎหมายค้างท่อ อย่างน้อย 40 ฉบับ

ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ยังมีร่างกฎหมายอีกจำนวนที่ยังรอให้ผู้แทนราษฎรพิจารณา และยังมีร่างกฎหมายถึง 10 ฉบับที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) ใช้เทคนิคถ่วงเวลา ขอนำร่างกฎหมายไปศึกษาก่อน 60 วัน เช่น #สมรสเท่าเทียม #สุราก้าวหน้า ซึ่งร่างกฎหมายทั้ง 10 ฉบับนั้นยังต้องรอให้สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่าจะ “รับหลักการ” หรือไม่ 
เปิดเทคนิคใหม่รัฐบาล เตะถ่วงร่างกฎหมาย ขอศึกษาก่อน 60 วัน
อ่าน

เปิดเทคนิคใหม่รัฐบาล เตะถ่วงร่างกฎหมาย ขอศึกษาก่อน 60 วัน

9 กุมภาพันธ์ 2565 สภาผู้แทนราษฎรอนุมัติให้ครม. นำร่างกฎหมายถึง 4 ฉบับ ไปศึกษาก่อนรับหลักการ 60 วัน 3 ฉบับเป็นร่างกฎหมายน่าจับตา #สุราก้าวหน้า #สมรสเท่าเทียม ร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ ชวนดูเทคนิคใหม่รัฐบาล ในการ "ยื้อเวลา" ร่างกฎหมาย