คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ: เริ่มต้นด้วยคนหน้าซ้ำ-จบลงด้วยความไม่คืบหน้า
อ่าน

คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ: เริ่มต้นด้วยคนหน้าซ้ำ-จบลงด้วยความไม่คืบหน้า

วันที่ 14 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา เป็นวันครบกำหนดวาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ หลังจากดำรงตำแหน่งมาแล้วครบห้าปี นับตั้งแต่มีการแต่งตั้งครั้งแรกในปี 2560 ซึ่งที่ผ่านมา คณะรัฐมนตรีที่นำโดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้ทำการแต่งตั้งคณะกรรมการปฏิรูปประเทศไปแล้วถึงสองชุด โดยชุดแรกได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2560 และชุดที่สองได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2563
ปรากฎการณ์การใช้มาตรา 112 ต่อการเผา – ทำลาย ซุ้มเฉลิมพระเกียรติ
อ่าน

ปรากฎการณ์การใช้มาตรา 112 ต่อการเผา – ทำลาย ซุ้มเฉลิมพระเกียรติ

พระบรมฉายาลักษณ์และซุ้มเฉลิมพระเกียรติ ถูกประดับประดาให้พบเห็นได้ตามถนนเส้นสำคัญ สถานที่สาธารณะ อาคารหน่วยงานราชการ รวมถึงพื้นที่ของเอกชนที่เปิดให้สาธารณะเข้าใช้บริการอีกหลายๆ แห่ง การเผาหรือทำลายซุ้มเฉลิมพระเกียรติโดยตัวเองเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาอยู่แล้ว หากเป็นการ “ทำลายทรัพย์สิน” ของบุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็นทรัพย์สินของเอกชน หรือทรัพย์สินของทางราชการ รวมถึงหากหากใช้ “ไฟ” ก็จะมีข้อกล่าวหา “วางเพลิงเผาทรัพย์” ด้วย อย่างไรก็ตามการดำเนินคดีต่อผู้ที่ทำลายพระบรมฉายาลักษณ์ไม่ได้หยุดอยู่แค่ประเด็นการทำลายทรัพย์สินเพร
อ่าน

ผลงานสภาปฏิรูป? เสนอร่างพ.ร.บ. 105 ฉบับ สี่ปีผ่านเป็นกฎหมายได้จริง 6 ฉบับ

สภาปฏิรูปทั้งสองแห่ง ใช้งบประมาณไปกว่าพันเจ็ดร้อยล้านบาท ผลิตข้อเสนอมากว่าพันข้อ โดยเป็นการเสนอร่างพ.ร.บ. อย่างน้อย 105 ฉบับ แต่ตลอดสี่ปีในการออกกฎหมายอย่างรวดเร็วของ สนช. ก็หยิบข้อเสนอเหล่านี้มาผ่านเป็นกฎหมายไปแล้วเพียง 6 ฉบับเท่านั้น
อ่าน

สรุป สี่ปี คสช. “ปฏิรูป” แค่ให้ทหารเข้าไปอยู่ทุกที่ ขออย่าอ้างปฏิรูปอีกเพื่ออยู่ต่อ

  ใกล้จะครบสี…
“คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” การสืบทอดอำนาจและควบคุมนักการเมืองของคสช.
อ่าน

“คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” การสืบทอดอำนาจและควบคุมนักการเมืองของคสช.

แม้ยังไม่เห็นเนื้อร่างยุทธศาสตร์ชาติ แต่ที่เป็นรูปธรรมแน่นอนแล้วคือ “คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” ว่าจะมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร ซึ่งต่อจากนี้ไปคณะกรรมการชุดนี้จะเข้ามาทำหน้าที่ร่างแผนยุทธศาสตร์ชาติฉบับจริง และเมื่อร่างเสร็จก็จะมีบทบาทในการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลชุดต่อๆ ไป  
สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) มาจากไหน? มาทำอะไร?
อ่าน

สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) มาจากไหน? มาทำอะไร?

หลังจากที่สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) ถูกยุบไป ตามรัฐธรรมนูญชั่คราว 2557 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม กำหนดให้ตั้งสภาขับเคลือนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) ขึ้นมาสานงานด้านปฏิรูปต่อจาก สปช. โดยมีสมาชิกไม่เกิน 200 คน มาจากการแต่งตั้งของนายกรัฐมนตรีทั้งหมด ทั้งนี้ สปท. จะไม่มีหน้าที่ในการลงมติรับหรือไม่รับร่างรัฐธรรมนูญเหมือน สปช.
ฟังเสียงปฏิรูป: เสียงจาก “คนงาน” ถึงข้อเสนอ “ธนาคารแรงงาน” ของ สปช.
อ่าน

ฟังเสียงปฏิรูป: เสียงจาก “คนงาน” ถึงข้อเสนอ “ธนาคารแรงงาน” ของ สปช.

สปช. เสนอจัดตั้งธนาคารแรงงานเพื่อแก้ปัญหาหนี้นอกระบบและสนับสนุนให้คนงานมีเงินออม ข้อเสนอนี้ดูเหมือนจะเป็นความหวังของผู้ใช้แรงงาน แต่สิ่งสำคัญที่ขาดหายไปคือการฟังเสียงของผู้เกี่ยวข้องโดยตรงอย่าง “คนงาน” ทำให้ธนาคารอาจไม่สามารถเป็นที่พึ่งของพวกเขาได้ เห็นได้ชัดจากโครงสร้างกรรมการธนาคารที่รัฐเป็นคนแต่งตั้งทั้งหมด
ฟังเสียงปฏิรูป: เวียงรัฐ เนติโพธิ์ มองข้อเสนอสปช.เรื่องปฏิรูปท้องถิ่น “ประชาธิปไตยที่เพิ่งเริ่มคลาน”
อ่าน

ฟังเสียงปฏิรูป: เวียงรัฐ เนติโพธิ์ มองข้อเสนอสปช.เรื่องปฏิรูปท้องถิ่น “ประชาธิปไตยที่เพิ่งเริ่มคลาน”

ข้อเสนอการปฏิรูปท้องถิ่นของ สปช. มีสาระสำคัญคือการกระจายอำนาจและโอนถ่ายภารกิจไปยังท้องถิ่น แต่เมื่อพิจารณาในรายละเอียด กลับพบข้อเสนอที่ย้อนแย้งต่อหลักการกระจายอำนาจ เช่น การเพิ่มบทบาทกำกับดูแลท้องถิ่น จึงชวนให้สงสัยว่า ข้อเสนอการปฏิรูปท้องถิ่นของ สปช. มีทิศทางอย่างไรกันแน่
ทำไมเราจึงควรคัดค้านร่าง พ.ร.บ.ความปลอดภัยทางชีวภาพ
อ่าน

ทำไมเราจึงควรคัดค้านร่าง พ.ร.บ.ความปลอดภัยทางชีวภาพ

ข่าวเรื่องร่างกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพถูกถอนออกจากการพิจารณาของสภาปฏิรูปฯ ได้รับความสนใจจากผู้คนในหลายภาคส่วน มีคนวิพากษ์วิจารณ์ร่างกฎหมายฉบับนี้หลากหลายประเด็น โดยเฉพาะประเด็นเรื่องความรับผิดและการชดใช้ค่าเสียหาย (ร่างมาตรา 52) แต่ยังมีความคลาดเคลื่อนอยู่หลายข้อที่อาจทำให้สาธารณชนสับสนหลงผิดไปได้
เทียนฉายโชว์ผลงาน สปช. เผย “สมาชิกรู้ดีว่าเราฉีกใบสั่งทิ้งไปกี่ใบ”
อ่าน

เทียนฉายโชว์ผลงาน สปช. เผย “สมาชิกรู้ดีว่าเราฉีกใบสั่งทิ้งไปกี่ใบ”

เทียนฉาย กีระนันท์ ประธาน สปช. กล่าวถึงการทำงานตลอด 1 ปีที่ผ่านมาของ สปช. และยังกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่าง สปช. กับกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญว่ามีความลึกซึ้ง ยากจะอธิบาย เผย "เรื่องคานงัด" ที่ต้องปฏิรูปใหญ่มี 2 เรื่อง คือ การบริหารราชการแผ่นดินและการศึกษา