อ่าน ปฏิรูปประเทศ/ยุทธศาสตร์ชาติ รัฐธรรมนูญและรัฐสภา ไม่มีหมวดหมู่ รู้จักการปฏิรูปประเทศของ คสช.กันยายน 5, 2022 ไอลอว์รวบรวมงานเขียนที่เกี่ยวกับการปฏิรูปในยุคต่างๆ ของ คสช. เพื่อให้ได้ศึกษาที่มาที่ไปและการปฏิรูปประเทศที่เป็นมรดกจากการรัฐประหาร 0 0 0
อ่าน ไม่มีหมวดหมู่ ถอดข้อเท็จจริงแนวปะทะสมรภูมิดินแดง 18 ครั้ง ตลอดเดือนสิงหาคม 2564กันยายน 1, 2021 ในเดือนสิงหาคม 2564 แยกดินแดง บริเวณจุดตัดถนนอโศก-ดินแดงเข้าสู่ถนนวิภาวดีกลายเป็นพื้นที่ปะทะกันด้วยความรุนแรงระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุมที่ขับไล่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา กับตำรวจชุดควบคุมฝูงชนอย่างน้อย 18 วัน จนถูกตั้งชื่อเล่นว่า “สมรภูมิดินแดง” ขณะที่กลุ่มผู้ชุมนุมก็ตั้งชื่อตัวเองภายหลังอย่างไม่เป็นทางการว่า “ทะลุแก๊ซ” ซึ่งน่าจะมาจากการฟันฝ่ากับแก๊สน้ำตาที่ตำรวจใช้กับผู้ชุมนุมอย่างไม่ลดละ &n 0 0 0
อ่าน ปฏิรูปประเทศ/ยุทธศาสตร์ชาติ รัฐธรรมนูญและรัฐสภา เช็คเกียรติประวัติ กรรมการยุทธศาสตร์ชาติ หลังรัฐประหารทำอะไรบ้าง?ตุลาคม 30, 2018 วันที่ยุทธศาสตร์ คสช. บังคับใช้ มีกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ จำนวน 29 คน เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง 17 คน และเป็นกรรมการที่รัฐบาล คสช. แต่งตั้ง 12 คน จากการสำรวจพบว่า นับตั้งแต่ คสช. เข้ามาบริหารประเทศ กรรรมการยุทธศาสตร์ชาติส่วนใหญ่เคยผ่านการทำงานสนับสนุนรับใช้ คสช. มาด้วยตำแหน่งต่าง ดังนี้ 0 0 0
อ่าน ไม่มีหมวดหมู่ “ร่างกฎหมาย 4 ชั่วโคตร” การเห็นชอบร่างกฎหมาย รับของที่ระลึก เสี่ยงคุกหนักสิงหาคม 23, 2017 ร่างพ.ร.บ.สี่ชั่วโคตร เป็นที่ฮือฮาอย่างมากในสังคม เพราะเนื้อหาของกฎหมายจะครอบคลุมญาติของเจ้าหน้าที่รัฐไว้อย่างกว้างขวาง สำหรับร่างกฎหมายฉบับนี้มีเป้าหมายในการปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อนของนักการเมืองและข้าราชการที่มีญาติพี่น้องมาเกี่ยวข้องในการคอรัปชั่น 0 0 0
อ่าน ไม่มีหมวดหมู่ เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้งเมษายน 6, 2017 นับถึง 6 เม.ย. 60 เกว่า 2 ปี 8 เดือน คสช.ใช้เวลาในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร โดยมีกรรมาการร่าง 2 ชุด มีร่างรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ มีการออกเสียงประชามติ 1 ครั้ง มีการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญที่ผ่านประชามติ 4 ครั้ง และมีผู้ถูกดำเนินคดีเกี่ยวกับประชามติอย่างน้อย 195 คน ทั้งหมดคือสิ่งที่เกิดขึ้นก่อนจะมีรัฐธรรมนูญ 2560 0 0 0
อ่าน ข้อเสนอแก้รัฐธรรมนูญ ประชามติ 59 จับตากระแสวิพากษ์วิจารณ์รัฐธรรมนูญฉบับ ‘มีชัย’กุมภาพันธ์ 7, 2016 ภายหลังที่มีการเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของ “มีชัย ฤชุพันธุ์” ไม่นานกระแสวิพากษ์วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญก็ทยอยออกมาไม่ว่าจะเป็นความเห็นจากอดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ นักการเมือง พรรคการเมือง นักวิชาการ นักกฎหมาย และภาคประชาสังคม ทั้งนี้ เราได้ทำการรวบรวมความเห็นส่วนหนึ่งไว้เพื่อสะท้อนมุมมองของแต่ละฝ่ายว่ามีความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญอย่างไร 0 0 0
อ่าน ไม่มีหมวดหมู่ iLaw รวม 10 เรื่องเด่น ประจำปี 2558ธันวาคม 29, 2015 ปี 2558 มีเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นภายใต้การปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) จากการติดตามประเด็นเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน การจับกุมและดำเนินคดีทางการเมือง และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกกฎหมายและออกนโยบาย ใกล้สิ้นปีไอลอว์จึงขอหยิบเรื่องราว 10 เรื่องที่ถือว่าโดดเด่นและน่าจดจำที่สุด ในสายตาและการทำงานของเราตลอดหนึ่งปีที่ผ่านมา ให้ได้หวนระลึกกันอีกครั้ง 0 0 0
อ่าน ไม่มีหมวดหมู่ “ไฮไลท์” ข้อเสนอ ปฎิรูปประเทศ ของสภาปฎิรูปแห่งชาติกันยายน 10, 2015 ภายใต้กระแส "ปฎิรูปก่อนเลือกตั้ง" ทำให้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ ต้องสร้างโรงงานแห่งการปฎิรูปขึ้น ในนาม สภาปฎิรูปแห่งชาติ (สปช.) อย่างไรก็ดี ผลงานของ สปช. กลับไม่ได้ถูกหยิบยกมาเป็นประเด็นมากนัก ทั้งที่ มีข้อเสนอจำนวนมาก ดังนั้นเราจึงขอ "ไฮไลท์" ผลงานให้สังคมได้พิจารณากัน 0 0 0
อ่าน ไม่มีหมวดหมู่ สรุปการทำงานสปช.: ข้อเสนอ “ครอบจักรวาล” 505 ข้อ … ไม่ใหม่ ไม่มีรายละเอียด ไม่เสร็จในเร็ววันกันยายน 7, 2015 สรุปการทำงาน 11 เดือน ของสปช. มีข้อเสนอการปฏิรูปรวม 505 ข้อเสนอ จัดทำออกเป็น 62 เล่ม โดยใช้งบประมาณแผ่นดินไปกว่า 700 ล้านบาท ขณะที่ข้อเสนอส่วนมากยังเป็นแค่นามธรรม ไม่มีรายละเอียด หลักคิดยังมีปัญหาเพราะเน้นไปที่การตั้งหน่วยงานใหม่ ออกกฎหมายใหม่ และไม่มีการจัดลำดับความสำคัญ มีกำหนดเสร็จอีก 17 ปี 0 0 0
อ่าน ไม่มีหมวดหมู่ “ปฏิรูป” (เมืองจีน)สิงหาคม 10, 2015 อาร์ม ตั้งนิรันดร นักวิชาการด้านกฎหมาย เชี่ยวชาญเรื่องจีน และติดตามแนวทางการปฏิรูปเมืองจีน อธิบายหลักคิดเรื่องการปฏิรูปของจีน 5 เรื่อง พร้อมทั้งตั้งคำถามถึงแนวทางการปฏิรูปที่กำลังดำเนินอยู่ในประเทศไทย 0 0 0