“ม.77” หลังประกาศใช้รธน.ใหม่ เปิดช่องพิจารณากฎหมายต้องรับฟังความคิดเห็นและศึกษาผลกระทบ
อ่าน

“ม.77” หลังประกาศใช้รธน.ใหม่ เปิดช่องพิจารณากฎหมายต้องรับฟังความคิดเห็นและศึกษาผลกระทบ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับผ่านประชามติ 2559  ประกาศใช้ขั้นตอนในการออกกฎหมายของ สนช. จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเพราะ ในมาตรา 77 วรรคสอง ได้กำหนดให้ "ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับ รัฐพึงจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง  วิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายอย่างรอบด้านและเป็นระบบ รวมทั้งเปิดเผย ผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์นั้นต่อประชาชน และนำมาประกอบการพิจารณา ในกระบวนการตรากฎหมายทุกขั้นตอน" 
แถลงการณ์ร่วม  ประเทศไทย: ต้องให้ความสำคัญกับการแก้ไขเพิ่มเติมและการออกกฎหมายเกี่ยวกับการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหาย
อ่าน

แถลงการณ์ร่วม ประเทศไทย: ต้องให้ความสำคัญกับการแก้ไขเพิ่มเติมและการออกกฎหมายเกี่ยวกับการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหาย

แอมเนสตี้แถลงร่วม ICJ ผิดหวังต่อข่าวที่ระบุว่า "ร่าง พ.ร.บ.ทรมานและอุ้มหาย" ต้องล่าช้าออกไปอีก พร้อมเรียกร้องทางการไทยให้เร่งออกกฎหมายนี้โดยเร็ว
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: พล.อ.ปรีชา โดดประชุม ไม่ใช่เรื่องใหญ่เท่า ใครกำลังออกกฎหมาย
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: พล.อ.ปรีชา โดดประชุม ไม่ใช่เรื่องใหญ่เท่า ใครกำลังออกกฎหมาย

ปัญหาการขาดประชุมของสมาชิก สนช. อาจมีที่มาจากการทำงานหลายตำแหน่ง ประเด็นสำคัญที่ควรถูกตั้งคำถามมากกว่า คือ “ระบบ” ของการคัดเลือกและแต่งตั้งบุคคลเข้ามาเป็นสมาชิกสนช. ที่มักจะตั้งข้าราชการ ทหาร หรือผู้ที่ดำรงตำแหน่งอื่นๆ อยู่แล้ว ให้มาเป็นคนพิจารณาออกกฎหมาย ทั้งที่คนเหล่านั้นก็ไม่ได้มีเวลาหรือมีสมาธิในการเป็นสมาชิก สนช. เท่าไร แต่ก็ยังได้รับค่าตอบแทนจากทุกตำแหน่งพร้อมกันไปด้วย
ใครออกกฎหมาย? 6: จากรัฐประหาร 49-57 สนช.สืบทอดอำนาจ หน้าเดิมได้แต่งตั้งซ้ำ
อ่าน

ใครออกกฎหมาย? 6: จากรัฐประหาร 49-57 สนช.สืบทอดอำนาจ หน้าเดิมได้แต่งตั้งซ้ำ

สมาชิก สนช. ปี 2557 มีอย่างน้อย 36 คน ที่ไม่ได้เข้าสู่ตำแหน่งนิติบัญญัติโดยการแต่งตั้งเป็นครั้งแรก แต่เคยได้รับการแต่งตั้งเป็นสนช. ปี 2549, ส.ว. ปี 2551 และ ส.ว. ปี 2554 มาก่อนแล้ว บ้างท่านอยู่ในสภาโดยการแต่งตั้งต่อเนื่องมานับทศวรรษ
ใครออกกฎหมาย? 5: ข้าราชการยึดอำนาจออกกฎหมาย ร่างเอง-โหวตเอง-ได้ประโยชน์เอง
อ่าน

ใครออกกฎหมาย? 5: ข้าราชการยึดอำนาจออกกฎหมาย ร่างเอง-โหวตเอง-ได้ประโยชน์เอง

สมาชิก สนช. จำนวน 89% เคยเป็นข้าราชการ หรือทำงานในหน่วยงานราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ สองปีกว่าของการออกกฎหมายมีกฎหมายจำนวนมากให้ประโยชน์ที่เป็นรูปธรรมกับราชการ และมีเจ้าหน้าที่รัฐจำนวนมากเข้าควบคุมกระบวนการการออกกฎหมายตั้งแต่ตั้นจนจบ
ใครออกกฎหมาย? 4: “The Lucky 7” กับเจ็ดสนช. ที่ขาดประชุมบ่อยจนอาจสิ้นสภาพ
อ่าน

ใครออกกฎหมาย? 4: “The Lucky 7” กับเจ็ดสนช. ที่ขาดประชุมบ่อยจนอาจสิ้นสภาพ

ไอลอว์ ค้นหาข้อมูลการแสดงตนเพื่อลงลงมติของสมาชิก สนช. จำนวน 8 คน โดยเลือกรอบระยะเวลา 2 รอบ (180 วัน) ของปี 2559 ว่าลงมติเกินกว่าหนึ่งในสามของแต่ละรอบระยะเวลาหรือไม่ พบว่า มีถึง 7 คน ที่ลงมติไม่เกินกว่าหนึ่งในสามของการลงมติในแต่ละรอบ
ใครออกกฎหมาย? 3: ค้านไม่ต้อง-เห็นชอบครับ! สนช. 90% ไม่แตกแถว
อ่าน

ใครออกกฎหมาย? 3: ค้านไม่ต้อง-เห็นชอบครับ! สนช. 90% ไม่แตกแถว

ตลอดสองปีกว่า สนช.ผ่านร่างพ.ร.บ.อย่างน้อย 214 ฉบับ ผลการลงมติร่างกฎหมายฉบับต่างๆ จะผ่านความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียงข้างมากเกิน 90% ทุกฉบับ ใน ร่างพ.ร.บ.ที่สังคมมีการถกเถียงกันอย่างแพร่หลาย ก็พบว่าไม่มีร่างพ.ร.บ.ฉบับไหน ที่เสียงข้างมากจะมีมติไม่เห็นชอบเลย
ใครออกกฎหมาย? 2: ส่องสนช. ‘สภาอาวุโส’ วัยหลังเกษียณ 75% พบแก่สุด 92 ปี อ่อนสุด 51 ปี
อ่าน

ใครออกกฎหมาย? 2: ส่องสนช. ‘สภาอาวุโส’ วัยหลังเกษียณ 75% พบแก่สุด 92 ปี อ่อนสุด 51 ปี

สมาชิก สนช. จำนวน 250 คน พบว่าอายุเฉลียของทั้งสภาอยู่ที่ 64 ปี ขณะที่คนวัยเกษียณ หรืออายุ 60 ปีขึ้นไป มีจำนวน 185 คน หรือคิดเป็น 75% ของทั้งสภา หากแบ่งตามเพศกำเนิด เป็นเพศชาย 238 คน และเพศหญิง 12 คน เรียกว่าผู้ชายครอบครองพื้นที่ของสภาถึง 95%
ใครออกกฎหมาย? 1: “สภาทหาร-สภาผลประโยชน์” เมื่อคนใกล้ชิดผู้นำประเทศอยู่เต็มสนช.
อ่าน

ใครออกกฎหมาย? 1: “สภาทหาร-สภาผลประโยชน์” เมื่อคนใกล้ชิดผู้นำประเทศอยู่เต็มสนช.

สมาชิกสนช. 250 คน ถูกแต่งตั้งจากหัวหน้า คสช. จำนวนเกินครึ่งของสภาเป็นทหาร และมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ คสช. ทั้งในฐานะเพื่อนร่วมรุ่น ผู้บังคับบัญชา และเครือญาติ