ต้องชัดเจนและคุ้มครองสิทธิ ดูบทเรียนจากต่างประเทศเพื่อพัฒนากฎหมาย ‘ละเมิดอำนาจศาล’
อ่าน

ต้องชัดเจนและคุ้มครองสิทธิ ดูบทเรียนจากต่างประเทศเพื่อพัฒนากฎหมาย ‘ละเมิดอำนาจศาล’

ในช่วงเวลาประมาณสิบปีที่ผ่านมา สถาบันศาลเข้ามามีบทบทในพื้นที่สาธารณะโดยเฉพาะในการเมืองไทยมากขึ้น เพราะท่ามกลางความขัดแย้งทางการเมือง การใช้สิทธิทางศาลถือเป็นวิธีการหนึ่งที่คู่ขัดแย้งทางการเมืองเลือกเดินเพื่อต่อสู้กับฝ่ายตรงข้าม เช่น การฟ้องคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) ในความผิดฐานกบฎต่อศาลอาญา โดยคนที่ไม่เห็นด้วยกับการรัฐประหาร การฟ้องศาลแพ่งให้เพิกถอนการประกาศพ.ร.ก.ฉุกเฉินของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ชินวัตร รวมทั้งยังมีกรณีที
บทเรียนจากกวางจู “ประวัติศาสตร์ที่ไม่ถูกจดจำจะถูกซ้ำรอยเดิม”
อ่าน

บทเรียนจากกวางจู “ประวัติศาสตร์ที่ไม่ถูกจดจำจะถูกซ้ำรอยเดิม”

เรื่องราวของขบวนการประชาธิปไตยที่กวางจูและเกาหลีใต้ไม่เป็นที่รับรู้มากนักในสังคมไทย ช่วงเวลาประมาณสองสัปดาห์ที่กวางจูทำให้ผู้เขียนเห็นภาพเปรียบเทียบบางอย่างของเกาหลีใต้กับประเทศไทย จึงขอนำประสบการณ์จากการเดินทางครั้งนี้มาแบ่งปัน
แก้ไข ‘ป.วิแพ่ง’ อาจตัดสิทธิประชาชน อุทธรณ์-ฎีกา
อ่าน

แก้ไข ‘ป.วิแพ่ง’ อาจตัดสิทธิประชาชน อุทธรณ์-ฎีกา

ปัจจุบันการยื่นคดีต่อศาลฎีกาเป็นระบบสิทธิ ซึ่งจะช่วยคุ้มครองคู่ความให้ได้รับความยุติธรรมโดยมีการตรวจสอบถึงสามชั้นศาล สำหรับการแก้ไข "ป.วิแพ่ง" เป็นระบบอนุญาตจะแก้ปัญหาเรื่องภาระคดีจำนวนมากที่จะต้องขึ้นศาลฎีกา การเปลี่ยนแปลงนี้อาจทำให้การตรวจสอบลดลง ดังนั้นการคุ้มครองสิทธิของประชาชนอาจได้รับผลกระทบ
ห้องเวรชี้ : อุตสาหกรรมยุติธรรม
อ่าน

ห้องเวรชี้ : อุตสาหกรรมยุติธรรม

“ห้องเวรชี้” เป็นชื่อเรียกห้องพิจารณาคดีในศาล ที่ใช้สำหรับการพิจารณาคดีที่ถูกส่งมาขึ้นศาลเป็นวันแรก คดีที่จำเลยรับสารภาพและไม่มีรายละเอียดมากนัก ชะตากรรมของผู้ต้องหาจำนวนมากถูกจะตัดสินอย่างรวดเร็วที่ห้องเวรชี้นี้เอง โดยเจ้าหน้าที่ศาลและผู้พิพากษาจะทำงานกันอย่างเป็นระบบคล้ายสายพานโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่องของศาล : สัมผัสทางสายตา
อ่าน

เรื่องของศาล : สัมผัสทางสายตา

เรื่องเล่าเบาๆ ประเด็นความแตกต่างระหว่าง ศาลพลเรือนและศาลทหาร ที่ใกล้ตัวเรามากขึ้นทุกวันอย่างนี้ก็เห็นจากในข่าวนั่นแหละ
ประวัติศาสตร์ศาลทั้งสี่ ผู้ทรงอิทธิฤทธิ์ตามรัฐธรรมนูญไทย
อ่าน

ประวัติศาสตร์ศาลทั้งสี่ ผู้ทรงอิทธิฤทธิ์ตามรัฐธรรมนูญไทย

“ศาล” เป็นสถาบันที่ปรากฏร่องรอยในประวัติศาตร์ไทยและโลกมาอย่างยาวนาน แต่ละศาลมีที่มาและอำนาจหน้าที่อย่างไร ลองสำรวจดูในมุมมองแบบย้อนประวัติศาสตร์
นักวิชาการเสนอ แก้ไขกระบวนการยุติธรรม ต้องมีบทลงโทษเจ้าหน้าที่รัฐ
อ่าน

นักวิชาการเสนอ แก้ไขกระบวนการยุติธรรม ต้องมีบทลงโทษเจ้าหน้าที่รัฐ

หกทศวรรษปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน นักวิชาการด้านกฎหมายและทนายความเห็นพ้อง กระบวนการยุติธรรมทางอาญาไทยมีปัญหาการละเมิดสิทธิ แม้กฎหมายไทยแก้ไขให้สอดคล้องกับหลักสากลแล้ว แต่การทำงานของเจ้าหน้าที่ยังมีปัญหาอยู่มาก