เช็กผลงาน สว. 67 เห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ ศาลรัฐธรรมนูญ-องค์กรอิสระ-ข้าราชการระดับสูงไปกี่ตำแหน่ง
อ่าน

เช็กผลงาน สว. 67 เห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ ศาลรัฐธรรมนูญ-องค์กรอิสระ-ข้าราชการระดับสูงไปกี่ตำแหน่ง

ตลอดอายุห้าปีของ สว. 2567 จะให้ความเห็นชอบผู้มาดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและกรรมการองค์กรอิสระได้ “เกินครึ่ง” รวมทั้งให้ความเห็นชอบข้าราชการระดับสูงบางตำแหน่ง
ศาลรัฐธรรมนูญถูก “ยืมมือ” รอบ 3 ตีความประชามติ “ก่อน” จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ อาจโดนปัดไม่รับคำร้อง
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญถูก “ยืมมือ” รอบ 3 ตีความประชามติ “ก่อน” จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ อาจโดนปัดไม่รับคำร้อง

การที่รัฐสภาส่งเรื่องไปถามศาลรัฐธรรมนูญครั้งที่สามในประเด็นประชามติ “ก่อน” จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ ทั้งๆ ที่รัฐธรรมนูญและคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 4/2564 เขียนชัดเจนแล้ว หากพิจารณาตามข้อกฎหมาย อาจได้รับคำตอบจากศาลว่า “ไม่รับคำร้อง”
ทำความรู้จัก ธณัชญ์พงศ์ วงศ์มุลาลี สว. คนใหม่ หลังศาลรัฐธรรมนูญฟัน สมชาย เล่งหลัก พ้นตำแหน่ง
อ่าน

ทำความรู้จัก ธณัชญ์พงศ์ วงศ์มุลาลี สว. คนใหม่ หลังศาลรัฐธรรมนูญฟัน สมชาย เล่งหลัก พ้นตำแหน่ง

26 มีนาคม 2568 ศาลรัฐธรรมนูวินิจฉัยให้สมชาย เล่งหลัก สว. สิ้นสมาชิกภาพ โดยธณัชญ์พงศ์ วงศ์มุลาลี จะได้เลื่อนขึ้นมาเป็น สว. ต่อไป
ถอดรหัสลงมติ พรรคร่วมรัฐบาลประสานเสียงชัดเห็นด้วยส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ด้านสว. ข้างมากขอ “งดออกเสียง”
อ่าน

ถอดรหัสลงมติ พรรคร่วมรัฐบาลประสานเสียงชัดเห็นด้วยส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ด้านสว. ข้างมากขอ “งดออกเสียง”

ผลการลงมติส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ประเด็นการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ พรรคร่วมรัฐบาลเสียงแทบไม่แตกโหวตเห็นด้วย เสียงไม่เห็นด้วย มาจากพรรคประชาชนและพรรคเป็นธรรม และ สว. ส่วนน้อยอีก 12 เสียง ด้าน สว. ข้างมากในวุฒิสภา เลือกโหวต “งดออกเสียง”
รวมเหตุผล (?) เพื่อไทย ทำไมต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

รวมเหตุผล (?) เพื่อไทย ทำไมต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

จากเสียงแตกพ่ายหลากหลายความคิดของสมาชิกรัฐสภา ชวนดูเสียงจากสส.พรรคเพื่อไทย พรรคแกนนำพรรคร่วมรัฐบาล ว่าทำไมต้องส่งเรื่องนี้ให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ครั้งที่สาม
อีกแล้ว! รัฐสภาส่งศาล รธน.วินิจฉัยเขียนรัฐธรรมนูญใหม่รอบที่สาม ถามเรื่องเดิมศาลอาจไม่รับคำร้องเหมือนเดิม
อ่าน

อีกแล้ว! รัฐสภาส่งศาล รธน.วินิจฉัยเขียนรัฐธรรมนูญใหม่รอบที่สาม ถามเรื่องเดิมศาลอาจไม่รับคำร้องเหมือนเดิม

17 มีนาคม 2568 รัฐสภาส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยอำนาจเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ของรัฐสภาเป็นครั้งที่สาม ว่ารัฐสภามีอำนาจเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ โดยที่ยังไม่ได้มีการทำประชามติได้หรือหม่ ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญอาจไม่รับคำร้องเหมือนที่เคยไม่รับในปี 2567
ไม่ผ่านทั้งคู่! สว.67 ลงมติลับไม่เห็นชอบ สิริพรรณ – ชาตรี นั่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 
อ่าน

ไม่ผ่านทั้งคู่! สว.67 ลงมติลับไม่เห็นชอบ สิริพรรณ – ชาตรี นั่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 

18 มีนาคม 2568 สว. ลงมติลับไม่เห็นชอบให้ สิริพรรณ นกสวน สวัสดี และชาตรี อรรจนานันท์ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ หลัง สว. ไม่เห็นชอบ จะต้องสรรหาใหม่ และส่งให้วุฒิสภาพิจารณาใหม่ โดยสิริพรรณและชาตรีไม่สามารถเข้ารับการสรรหาได้อีกแล้ว
รัฐสภาส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบสาม ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำประชามติก่อนหรือไม่
อ่าน

รัฐสภาส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบสาม ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำประชามติก่อนหรือไม่

17 มีนาคม 2568 ที่ประชุมรัฐสภามีมติส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาในการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่และการประชามติ “ก่อน” เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำในขั้นตอนใด
สามฉากทัศน์หลังรัฐสภาเห็นชอบส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ซ้ำรอบสาม
อ่าน

สามฉากทัศน์หลังรัฐสภาเห็นชอบส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ซ้ำรอบสาม

ที่ประชุมร่วมของรัฐสภามีมติส่งให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความรายละเอียดจำนวนครั้งและขั้นตอนการทำประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ซึ่งที่ผ่านมามีการยื่นคำร้องในทำนองนี้แล้วสามครั้งสะท้อนให้เห็นถึงการใช้กระบวนการทางกฎหมายเป็นเครื่องมือทางการเมืองในการ “ถ่วงเวลา” กระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
พริษฐ์มองรัฐบาลขาดเจตจำนงจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ ขอแพทองธารแสดงภาวะผู้นำ
อ่าน

พริษฐ์มองรัฐบาลขาดเจตจำนงจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ ขอแพทองธารแสดงภาวะผู้นำ

พริษฐ์ระบุว่า การส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญนั้นไม่จำเป็น เพราะร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญสอดคล้องกับคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 4/2564 อยู่แล้ว และไม่เพียงพอที่จะแก้ปัญหาเพราะอุปสรรคที่แท้จริงคือเจตจำนงทางการเมือง ทางออกจึงไม่ได้อยู่ที่ศาลรัฐธรรมนูญ แต่อยู่ที่ทำเนียบรัฐบาล โดยนายกรัฐมนตรีต้องแสดงภาวะผู้นำ