ที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุด เลือก บรรจงศักดิ์ วงปราชญ์ ส่งให้ ส.ว. ลงมติเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุด เลือก บรรจงศักดิ์ วงปราชญ์ ส่งให้ ส.ว. ลงมติเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

4 มีนาคม 2563 ที่ประชุมใหญ่ตุลาการศาลปกครองสูงสุด มีมติเลือก บรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด เพื่อส่งให้วุฒิสภาลงมติให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ แทนที่ ชั่งทอง โอภาสศิริวิทย์ ผู้ได้รับคัดเลือกจากศาลปกครองสูงสุดคนก่อน ที่วุฒิสภามีมติไม่เห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
วิกฤติโควิด 19 ส.ว.เป็นฝ่ายนิติบัญญัติไม่นิ่งเฉย ยังทำงาน “สังคมสงเคราะห์” ด้วย
อ่าน

วิกฤติโควิด 19 ส.ว.เป็นฝ่ายนิติบัญญัติไม่นิ่งเฉย ยังทำงาน “สังคมสงเคราะห์” ด้วย

วุฒิสภา โดยหลักการแล้วเป็นองค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ ซึ่งมีอำนาจหน้าที่สำคัญในการตรวจสอบฝ่ายบริหาร ช่วงวิกฤติโรคโควิด ส.ว.หลายคนเลือกทำกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือสถานการณ์นอกอำนาจหน้าที่ โดยเน้นไปที่งานสังคมสงเคราะห์ ลองดูกิจกรรมของพวกเขาเทียบกับเงินเดือนที่ได้รับ
ส.ว.แต่งตั้ง: ส.ว.กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่งในองค์กรของรัฐและองค์กรอิสระ
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: ส.ว.กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่งในองค์กรของรัฐและองค์กรอิสระ

ตามรัฐธรรมนูญ 2560 สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ชุดแรก จำนวน 250 คน ทั้งหมดถูกเลือกและแต่งตั้งโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และมีวาระในการดำรงตำแหน่งยาวนานถึงห้าปี มาดูกันว่า ตั้งแต่เปิดประชุมวุฒิสภา วันที่ 24 พฤษภาคม 2562 จนถึงขณะนี้ที่ระยะเวลาผ่านไปเกือบ 2 ปีของการดำรงตำแหน่ง ส.ว.ให้ความเห็นชอบผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรใดบ้าง และเห็นชอบใครไปแล้วบ้าง
ศาลรัฐธรรมนูญเปิดช่องทางพิเศษ ให้รัฐบาลผ่านงบแบบไม่ต้องผ่านสภา
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญเปิดช่องทางพิเศษ ให้รัฐบาลผ่านงบแบบไม่ต้องผ่านสภา

หากนับวันตั้งแต่ร่าง พ.ร.บ.งบประมาณฯ 2563 ได้เข้าสู่การพิจารณา ไปจนถึงวันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยให้มีการลงมติใหม่นั้น จะถือว่า ร่าง พ.ร.บ.งบประมาณฯ ได้เข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนฯ มาแล้วไม่น้อยกว่า 114 วัน ซึ่งถ้าดูในมาตรา 143 ของรัฐธรรมนูญ ได้วางกรอบเวลาไว้ว่า สภาผู้แทนฯ ต้องพิจารณาให้เสร็จในรอบ 105 วัน มิเช่นนั้นจะถือว่า สภาผู้แทนฯ ได้ให้ความเห็นชอบร่างกฎหมายที่รัฐบาลเสนอโดยไม่ได้มีการแก้ไขใดๆ
ส.ว.แต่งตั้ง: ส.ว.ลงมติไม่เปิดเผยบันทึกประชุม กมธ. ไปแล้ว 30 ครั้ง เรื่องพิจารณาบุคคลเข้าสู่ตำแหน่งพิเศษ
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: ส.ว.ลงมติไม่เปิดเผยบันทึกประชุม กมธ. ไปแล้ว 30 ครั้ง เรื่องพิจารณาบุคคลเข้าสู่ตำแหน่งพิเศษ

รัฐธรรมนูญ มาตรา 129 กำหนดให้ ส.ว.ต้องเปิดเผยบันทึกการประชุมของ กมธ. แต่รัฐธรรมนูญก็ได้ให้ข้อยกเว้นไว้กว้างๆ เพียงว่า หากสภาผู้แทนราษฎร หรือวุฒิสภามีมติไม่ให้เปิดเผย ก็สามารถทำได้
เปิดรายชื่อกรรมการสรรหา ส.ว. ชุดพิเศษ และหลักเกณฑ์คัดเลือก “คนกันเอง”
อ่าน

เปิดรายชื่อกรรมการสรรหา ส.ว. ชุดพิเศษ และหลักเกณฑ์คัดเลือก “คนกันเอง”

กระบวนการคัดเลือก ส.ว.ที่ฝ่าย คสช. ดำเนินการไม่มีใครทราบว่า มีขั้นตอนอย่างไร ไอลอว์จึงยื่นหนังสือสอบถามรายละเอียดส่วนนี้
อำนาจของ 250 ส.ว. ของ คสช. มีมากกว่าแค่พิจารณากฎหมาย
อ่าน

อำนาจของ 250 ส.ว. ของ คสช. มีมากกว่าแค่พิจารณากฎหมาย

อำนาจบางประการของ ส.ว. ตามรัฐธรรมนูญ 2560 ก็เป็นอำนาจใหม่ที่เพิ่งมีขึ้นเป็นพิเศษ ถือเป็นมรดกที่ คสช. ได้วางเส้นทางการรักษาอำนาจเอาไว้
ผู้บัญชาการทหารอากาศคนใหม่ ‘พล.อ.อ. มานัต วงษ์วาทย์’ เตรียมเป็น ส.ว. อัตโนมัติ
อ่าน

ผู้บัญชาการทหารอากาศคนใหม่ ‘พล.อ.อ. มานัต วงษ์วาทย์’ เตรียมเป็น ส.ว. อัตโนมัติ

7 กันยายน 2562 มีการแต่งตั้ง พล.อ.อ. มานัต วงษ์วาทย์ เป็นผู้บัญชาการทหารอากาศคนใหม่ ทำให้ พล.อ.อ มานัต นั่ง ส.ว. อีกตำแหน่ง
ข้อเสนอ ‘ไอติม’ ประเทศไทยใช้สภาเดี่ยว ไม่ต้องมี ส.ว. เลยก็ได้
อ่าน

ข้อเสนอ ‘ไอติม’ ประเทศไทยใช้สภาเดี่ยว ไม่ต้องมี ส.ว. เลยก็ได้

พริษฐ์ วัชรสินธุ หรือ ‘ไอติม’ กล่าวในงานเสวนา “ประเทศไทยแบบไหนที่เราอยากอยู่ร่วมกัน” เสนอไอเดียและเหตุผลประกอบว่า ประเทศไทยใช้สภาเดี่ยวได้
รวมข้อมูล 250 ส.ว. แต่งตั้ง : กลไกหลักสืบทอดอำนาจจากยุค คสช.
อ่าน

รวมข้อมูล 250 ส.ว. แต่งตั้ง : กลไกหลักสืบทอดอำนาจจากยุค คสช.

รวมข้อมูล ส.ว. “ชุดพิเศษ” ตามรัฐธรรมนูญ 2560 สำหรับค้นคว้าข้อมูลเชิงลึกแต่ละประเด็น เหมาะสำหรับผู้เริ่มต้นหาข้อมูลสำหรับการศึกษาและอ้างอิง