7 ปี แห่งความถดถอย : “สภาแต่งตั้ง” เล่นใหญ่เพื่อปกป้องพระมหากษัตริย์ และขยายพระราชอำนาจ
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย : “สภาแต่งตั้ง” เล่นใหญ่เพื่อปกป้องพระมหากษัตริย์ และขยายพระราชอำนาจ

ทบทวนบทบาทของ สนช. ที่แก้ไขรัฐธรรมนูญและกฎหมายหลายครั้งอย่างลับๆ เกี่ยวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ เมื่อถึงยุคของ ส.ว. ก็ยังตั้งกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ รวมทั้งขวางการ #แก้รัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์ และอีก 38 มาตรา
7 ปี แห่งความถดถอย : วุฒิสภาของ คสช. ผ่านกฎหมายได้ 11 ฉบับ ปั๊มตรายางให้ พ.ร.ก. 6 ฉบับ
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย : วุฒิสภาของ คสช. ผ่านกฎหมายได้ 11 ฉบับ ปั๊มตรายางให้ พ.ร.ก. 6 ฉบับ

ส.ว. “ชุดพิเศษ” 250 คน ที่มาจาก คสช. กลายเป็นองค์กรที่มีพื่อสืบทอดอำนาจของคสช. และขวาง #แก้รัฐธรรมนูญ  แต่อำนาจหน้าที่ในกระบวนการออกกฎหมายก็ยังอยู่ในมือของพวกเขาด้วย ผลงานตลอด 2 ปีในตำแหน่ง พวกเขาลงมติผ่านร่างพระราชบัญญํติได้ 11 ฉบับ และอนุมัติพระราชกำหนดให้คณะรัฐมนตรีได้ 6 ฉบับ โดยเสียง เห็นชอบแทบจะไม่มีแตกแถว
เปิด 38 มาตรา แค่มีคำว่า “พระมหากษัตริย์” ก็จะคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

เปิด 38 มาตรา แค่มีคำว่า “พระมหากษัตริย์” ก็จะคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ

การพิจารณา #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสอง ส.ว.บางรายได้ทิ้งประเด็นเกี่ยวพระราชอำนาจ 38 มาตรา นอกเหนือหมวด 2 ไว้ ซึ่งกลายเป็นเงื่อนไขสำคัญของ ส.ว. ใช้เป็นข้ออ้างในการคว่ำ #แก้รัฐธรรมนูญ ในวาระสาม โดยทั้ง 38 มาตรานั้น ล้วนมี keyword ที่ปรากฏในบทบัญญัติ คือ คำว่า พระมหากษัตริย์
รัฐสภามีมติเสียงข้างมากยื่นศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย มีอำนาจแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตั้ง สสร. หรือไม่?
อ่าน

รัฐสภามีมติเสียงข้างมากยื่นศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย มีอำนาจแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตั้ง สสร. หรือไม่?

9 กุมภาพันธ์ 2564 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเห็นด้วย 366 ต่อ 315 เสียง ให้ส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยประเด็นปัญหาอำนาจและหน้าที่ของรัฐสภา ว่ามีอำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ เพื่อกำหนดบทบัญญัติว่าด้วยการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
ส.ว.เห็นชอบ ‘บรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์’ เป็นศาลรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ส.ว.เห็นชอบ ‘บรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์’ เป็นศาลรัฐธรรมนูญ

13 กรกฎาคม 2563 ที่ประชุมวุฒิสภา มีมติเห็นชอบให้ บรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์ ตัวแทนจากศาลปกครองสูงสุด ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่ ทำให้ขณะนี้ตุลากาลศาลรัฐธรรมนูญของประเทศไทยมีครบองค์คณะ 9 คนตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดแล้ว
ส.ว.แต่งตั้ง: หลักประกันทางอำนาจของ คสช.
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: หลักประกันทางอำนาจของ คสช.

หากพิจารณาจาก “รัฐธรรมนูญ ปี 2560” ซึ่งถูกร่างขึ้นโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ผู้ทำการรัฐประหารในปี 2557 ก็จะพบว่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญต้องการให้ “วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้ง” เป็นหลักประกันทางอำนาจของคณะรัฐประหารที่ต้องการจะดำรงอยู่หลังการเลือกตั้ง ดังนั้น จึงต้องให้อำนาจ ส.ว. ไว้เป็นพิเศษ
เปิดโครงการ “ส.ว.พบประชาชน” งบ 7 ล้าน เดินทางแล้ว 44 ครั้ง
อ่าน

เปิดโครงการ “ส.ว.พบประชาชน” งบ 7 ล้าน เดินทางแล้ว 44 ครั้ง

แม้ว่าวุฒิสภาชุดที่ทำงานอยู่ในปี 2563 จะมีที่มาจากการคัดเลือกของ คสช. แต่เมื่อเริ่มเข้ารับตำแหน่งแล้วก็พบว่า พวกเขาไม่ได้เพียงทำงานอยู่ในห้องประชุมเท่านั้น แต่ยังมีกิจกรรมจำนวนมากที่สมาชิกทั้ง 250 คน ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเดินทางไปพบปะประชาชนในระดับพื้นที่โดยใช้งบประมาณจากภาษี  
ตรวจงาน 1 ปี ส.ว. ไฟเขียวทุกมติ – เหล่าทัพโหวตพร้อมหน้าแค่ 1 เรื่อง
อ่าน

ตรวจงาน 1 ปี ส.ว. ไฟเขียวทุกมติ – เหล่าทัพโหวตพร้อมหน้าแค่ 1 เรื่อง

24 พฤษภาคม 2563 ถือเป็นวันครบรอบ 1 ปีการทำงานของ ส.ว. ไอลอว์ติดตามผู้กำหนดโฉมหน้าการเมืองไทยทั้ง 250 คนนี้ตลอดอายุการทำงานที่ผ่านมา มาดูกันว่าจากการประชุมและลงคะแนนเสียงของ ส.ว.ทั้งหมด 145 มติ เราเจออะไรบ้าง
เปิด 14 ชื่อเข้ารอบลุ้น ‘ตุลาการศาลปกครองสูงสุด’ มีชื่อเลขาฯ ป.ป.ช. ด้วย
อ่าน

เปิด 14 ชื่อเข้ารอบลุ้น ‘ตุลาการศาลปกครองสูงสุด’ มีชื่อเลขาฯ ป.ป.ช. ด้วย

23 เมษายน 2563 เว็บไซต์ศาลปกครองเผยแพร่ประกาศ ก.ศป. เรื่อง รายชื่อผู้ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องต้นในการคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุด โดยมีผู้ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องต้น และมีสิทธิเข้ารับการประเมินประสบการณ์ในการทำงาน หรือผลงานทางวิชาการทั้งหมด 14 คน พบว่ามีเลขาฯ ป.ป.ช. ผ่านการคัดเลือกด้วย
เปิดงบ 96 ล้าน สำหรับดูงานของ ส.ว. เดินทางไกลใช้ทริปละแสน
อ่าน

เปิดงบ 96 ล้าน สำหรับดูงานของ ส.ว. เดินทางไกลใช้ทริปละแสน

ส.ว.ชี้แจงการใช้งบประมาณเดินทางดูงาน สำหรับในประเทศขอไว้ 29 ล้าน ใช้ไปห้าล้านกว่า สำหรับต่างประเทศขอไว้ 67 ล้าน ยังไม่ได้ใช้ งบค่าเดินทางส่วนใหญ่ที่ใช้ของคณะกรรมาธิการ ถ้าเดินทางใน กทม. ใช้หลัก 2,000-3,000 ถ้าไปจังหวัดไกลๆ บางกิจกรรมใช้กว่าแสนบาท กมธ.ท้องถิ่นฯ ใช้เยอะสุด ตามด้วย กมธ.สังคมฯ