ส.ว. ไม่เห็นชอบ ศ.อารยะ นั่งเก้าอี้ป.ป.ช. แทนตำแหน่งที่ว่างมากว่า 8 เดือน
อ่าน

ส.ว. ไม่เห็นชอบ ศ.อารยะ นั่งเก้าอี้ป.ป.ช. แทนตำแหน่งที่ว่างมากว่า 8 เดือน

1 สิงหาคม 2565 ที่ประชุมวุฒิสภา “ไม่เห็นชอบ” ให้ศาสตราจารย์อารยะ ปรีชาเมตตา ดำรงตำแหน่งกรรมการป.ป.ช. ด้วยคะแนนเสียงไม่ให้ความเห็นชอบ 146 เสียง ให้ความเห็นชอบ 38 เสียง ไม่ออกเสียง 14 เสียง 
รัฐสภานัดถกร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ หลังพระมหากษัตริย์ไม่ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน
อ่าน

รัฐสภานัดถกร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ หลังพระมหากษัตริย์ไม่ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน

9-10 มิ.ย. 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีนัดปรึกษาร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ ซึ่งนายกฯ ได้นำร่างขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อ 31 มกราคม 2565 แต่พระมหากษัตริย์ไม่ได้ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน และไม่ได้พระราชทานร่างกฎหมายคืนกลับมา
8 ปี คสช. สภาแต่งตั้งเลือกสรรคนไปเป็น “องค์กรตรวจสอบ”
อ่าน

8 ปี คสช. สภาแต่งตั้งเลือกสรรคนไปเป็น “องค์กรตรวจสอบ”

ยุคคสช. สภาที่มาจากประชาชนก็กลายเป็นสภาแต่งตั้ง หลังปี 2562 มีสภาผู้แทนราษฎร แต่วุฒิสภา ที่ให้ความเห็นชอบบุคคลมาดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระและหน่วยงานของรัฐ มีที่มาไม่ยึดโยงกับประชาชน โครงสร้างที่เป็นมากว่าแปดปี ทำให้บุคคลที่ดำรงตำแหน่งในองค์กรสำคัญล้วนต้องผ่านตะแกรงคัดกรองจากสภาแต่งตั้ง
ส.ว. ชุดพิเศษทำงานครบ 3 ปี ได้เงินไปกว่า 2,000 ล้าน ผ่านกฎหมายแล้ว 35 ฉบับ
อ่าน

ส.ว. ชุดพิเศษทำงานครบ 3 ปี ได้เงินไปกว่า 2,000 ล้าน ผ่านกฎหมายแล้ว 35 ฉบับ

รวมจำนวนเงินงบประมาณในช่วงเวลาสามปีที่ต้องจ่ายเป็นค่าตอบแทน ส.ว. และตำแหน่งสนับสนุนการทำงานของ ส.ว. อย่างน้อย 2,230,569,000 บา ในช่วงเวลานี้ผ่านร่างพระราชบัญญัติได้ 35 ฉบับ เท่ากับค่าใช้จ่ายตอบแทน ส.ว. ด้านการพิจารณากฎหมายตกอยู่ที่ ฉบับละ 63,730,542 บาท                      
วุฒิสภาตั้ง กมธ. พิทักษ์สถาบันฯ ปิดลับไม่ให้รู้ว่าประชุมอะไร
อ่าน

วุฒิสภาตั้ง กมธ. พิทักษ์สถาบันฯ ปิดลับไม่ให้รู้ว่าประชุมอะไร

กมธ.พิทักษ์สถาบันฯ เป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญที่เคยมีในยุคของสนช. และวุฒิสภาชุดปัจจุบันก็ตั้งคณะกรรมาธิการชุดดังกล่าวขึ้นมาปฏิบัติหน้าที่ต่อ การประชุมแต่ละครั้งของกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ ล้วนแต่ถูกปิดตราประทับ “ลับ” ไม่เปิดเผยต่อสาธารณชน
ผู้หญิงอยู่ตรงไหน ในการเมืองไทยปี 2565
อ่าน

ผู้หญิงอยู่ตรงไหน ในการเมืองไทยปี 2565

ชวนมาสำรวจตำแหน่งแห่งที่ของผู้หญิงในองค์กรที่มีบทบาทสำคัญในการเมืองไทย ได้แก่ สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา ศาลรัฐธรรมนูญ และองค์กรอิสระ
รายชื่อครบแล้ว แต่ยังลงชื่อเพิ่มได้! ร่วม #แก้รัฐธรรมนูญ ม. 272 ปิดสวิตช์ส.ว. เลือกนายกฯ
อ่าน

รายชื่อครบแล้ว แต่ยังลงชื่อเพิ่มได้! ร่วม #แก้รัฐธรรมนูญ ม. 272 ปิดสวิตช์ส.ว. เลือกนายกฯ

การล่ารายชื่อเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 ตัดอำนาจวุฒิสภา (ส.ว.) เลือกนายกรัฐมนตรี นำโดย “คณะรณรงค์แก้ไข รธน. มาตรา 272” ได้รายชื่อประชาชนเกิน 50,000 รายชื่อ เรียบร้อยแล้วแต่ประชาชนยังสามารถลงชื่อเพิ่มได้เพื่อร่วมส่งเสียงให้รัฐสภารับฟังได้
รวมเสียง ส.ว. ค้าน “รื้อระบอบประยุทธ์”​ ค้าน “สภาเดี่ยว”
อ่าน

รวมเสียง ส.ว. ค้าน “รื้อระบอบประยุทธ์”​ ค้าน “สภาเดี่ยว”

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564 มีกำหนดการประชุมรัฐสภา พิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ "รื้อระบอบประยุทธ์" หนึ่งในข้อเสนอ คือ การใช้ "สภาเดี่ยว" ยกเลิกส.ว. เป็นวันที่สมาชิกวุฒิสภาอภิปรายน่าสนใจหลายคน ยังมีทั้งที่คัดค้านชัดเจน และคัดค้านแบบ "อ้อมๆ"​
4 เงื่อนไขรัฐธรรมนูญสร้าง “นายกคนนอก”
อ่าน

4 เงื่อนไขรัฐธรรมนูญสร้าง “นายกคนนอก”

รัฐธรรมนูญไทยส่วนใหญ่มักไม่กำหนดที่มานายกฯ จึงเปิดโอกาสให้มีนายกฯ คนนอก ที่ไม่ผ่านความเห็นชอบของประชาชนจากการเลือกตั้ง หรือไม่ได้เป็น ส.ส. เข้ามาบริหารประเทศได้ ซึ่งที่ผ่านรัฐธรรมนูญไทยได้ออกแบบกติกาเปิดทางนายกฯ คนนอกด้วยวิธีการต่างๆ
เหตุผล 4 ข้อ #แก้รัฐธรรมนูญ ต้องยกเลิก ‘ส.ว. แต่งตั้ง’
อ่าน

เหตุผล 4 ข้อ #แก้รัฐธรรมนูญ ต้องยกเลิก ‘ส.ว. แต่งตั้ง’

นับแต่คสช. รัฐประหารปี 2557 คสช. พยายามวางฐานอำนาจไว้ในกฎหมายสูงสุดอย่างรัฐธรรมนูญ ที่ชัดเจนที่สุด คือ การกำหนดให้มี ‘ส.ว. แต่งตั้ง’ ที่คัดเลือกมาเองเพื่อเป็นหลักประกันการสืบทอดอำนาจ ในวาระการ #แก้รัฐธรรมนูญ ชวนดู 4 เหตุผลหลักที่ต้องยกเลิกส.ว.ตัวแปรสำคัญในการรื้อระบอบประยุทธ์