Browsing Tag
ร่าง พ.ร.บ. ความมั่นคงไซเบอร์
7 posts
เปิดรับฟังความเห็น ร่างพ.ร.บ.ความมั่นคงไซเบอร์ฯ : เน้นความมั่นคงทหาร ให้รัฐล้วงข้อมูลได้ เอกชนไม่ทำตามมีบทลงโทษ
กระทรวงดิจิทัลฯ จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นร่างพ.ร.บ.ความมั่นคงไซเบอร์ฯ เนื้อหาคือเพื่อให้มีหน่วยงานในการรับผิดชอบดำเนินการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ อย่างไรก็ตาม ร่างกฎหมายฉบับนี้ดูจะให้อำนาจกับเจ้าหน้าที่รัฐมากในการดูแลและควบคุมความมั่งคงทางไซเบอร์
ผศ.ทศพล ห่วงร่างพ.ร.บ.ความมั่นคงไซเบอร์ฯ ชี้ ไทยจะปิดเน็ตแบบจีนไม่ได้
อาจารย์ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ แสดงข้อกังวล 12 ข้อในทางกฎหมาย ต่อร่างพ.ร.บ.ความมั่นคงไซเบอร์ฯ ที่ให้อำนาจรัฐไร้การตรวจสอบ ชี้รัฐยังสับสนระหว่างเรื่องความปลอดภัยกับการทำสงครามไซเบอร์
iLaw รวม 10 เรื่องเด่น ประจำปี 2558
ปี 2558 มีเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นภายใต้การปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) จากการติดตามประเด็นเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน การจับกุมและดำเนินคดีทางการเมือง และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกกฎหมายและออกนโยบาย ใกล้สิ้นปีไอลอว์จึงขอหยิบเรื่องราว 10 เรื่องที่ถือว่าโดดเด่นและน่าจดจำที่สุด ในสายตาและการทำงานของเราตลอดหนึ่งปีที่ผ่านมา ให้ได้หวนระลึกกันอีกครั้ง
นักวิชาการชี้ รัฐบาลทหารพยายามรวบอำนาจควบคุมโลกไซเบอร์
ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่ ระบุ การรัฐประหารไม่ได้ง่ายดายอีกต่อไป เพราะมาเจอกับโลกไซเบอร์ ซึ่งเป็นเหตุผลว่าทำไมการรัฐประหารครั้งนี้ทหารถึงต้องเข้ามาแทรกแซงโลกไซเบอร์จำนวนมาก เพราะเป็นพื้นที่ใหม่ที่ควบคุมไม่ค่อยได้ เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่อื่นยังพอควบคุมได้ด้วยการเชิญไปพูดคุย
หมายศาลก็ยังไม่พอ!: ต่อประเด็นถกเถียง “ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล”
กระแสคัดค้าน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ทำให้ผู้ร่างกฎหมายยืนยันว่าจะมีการแก้ไข และยังย้ำว่าร่างกฎหมายนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องออกในช่วงเวลานี้ ต่อประเด็นข้างต้น iLaw จึงขอนำประเด็นถกเถียงที่เกิดขึ้นมาตอบ เพื่อสร้างข้อถกเถียงใหม่ที่จะเป็นประโยชน์ต่ออนาคตของ "ชุดกฎหมายความมั่งคงดิจิทัล" ต่อไป
ความน่ากังวลบางประการต่อร่าง พ.ร.บ. ความมั่นคงไซเบอร์ฯ
ร่างพ.ร.บ.ความมั่นคงไซเบอร์ฯ เป็นหนึ่งใน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล 10+3 ฉบับ" ซึ่งร่างกฎหมายฉบับนี้ให้อำนาจเจ้าหน้าที่เข้าถึงข้อมูลการสื่อสารโดยไม่มีหมายศาล ทั้งไปรษณีย์ โทรเลข โทรสาร โทรศัพท์ และคอมพิวเตอร์ และอาจส่งผลกระทบต่อบรรษัททั้งไทยและต่างชาติ เพราะเจ้าหน้าที่สามารถ “ขอความร่วมมือ” หรือสั่งให้บรรษัท กระทำการหรืองดเว้นการกระทำการใดๆ ก็ได้