4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ
อ่าน

4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงที่ให้ ส.ว.สามารถเลือกนายกฯ ผ่านการออกเสียงประชามติ ส่งผลให้ กรธ.ต้องแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญให้สอดคล้องกับคำถามพ่วง ซึ่งขนาดนี้มีการพูดถึงแนวทางการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญถึงสี่แนวทาง
#ส่องประชามติ: กกต.แจกเพียงข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ ประชาสัมพันธ์นอกเขตฯ ไม่ทั่วถึง
อ่าน

#ส่องประชามติ: กกต.แจกเพียงข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ ประชาสัมพันธ์นอกเขตฯ ไม่ทั่วถึง

แม้ว่า กกต.จะมีแนวทางการประชาสัมพันธ์หลากหลายรูปแบบ แต่จากการรวบรวมข้อมูลยังพบข้อบกพร่องบางประการที่ส่งผลให้ประชาชนจำนวนมากต้องตกขบวนรถไฟประชามติครั้งนี้
ร่างรัฐธรรมนูญผ่านแล้ว มีหลายประเด็นต้องจับตาต่อ
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญผ่านแล้ว มีหลายประเด็นต้องจับตาต่อ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญผ่านประชามติ ก็เปรียบเสมือนการ "เซ็นเช็คเปล่า" ให้กับรัฐบาล คสช. และ กรธ. เพื่อเขียนกฎกติกาต่างๆ ที่ต้องใช้ประกอบรัฐธรรมนูญ อย่างเช่น กฎหมายพรรคการเมือง ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา ยุทธศาสตร์ชาติ กฎหมายการปฏิรูป ฯลฯ ดังนั้น ประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจตัวจริงควรต้องจับตาและมีส่วนร่วมในกระบวนการต่างๆ ให้ได้มากที่สุด
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: กระจายอำนาจถอยหลัง บางท้องถิ่นไม่ต้องเลือกตั้ง และลดการมีส่วนร่วมประชาชน
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: กระจายอำนาจถอยหลัง บางท้องถิ่นไม่ต้องเลือกตั้ง และลดการมีส่วนร่วมประชาชน

ประเด็นการกระจายอำนาจเป็นสิ่งที่พัฒนาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ถึงรัฐธรรมนูญ 2550 แต่ปัจจุบันการกระจายอำนาจสู่ระดับท้องถิ่นต้องหยุดชะงักลงอย่างไม่มีกำหนด เมื่อ คสช.รัฐประหาร นอกจากนี้ในร่างรัฐธรรมนูญปี 2559 ที่จะถูกนำไปออกเสียงประชามติก็ไม่มีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจนถึงการกระจายอำนาจสู่ระดับท้องถิ่น เมื่อเปรียบเทียบกับร่างรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ถ้าร่างผ่านเท่ากับ “ตีเช็คเปล่า” ให้ กรธ.เขียนกฎหมายลูก 10 ฉบับได้ตามใจ
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ถ้าร่างผ่านเท่ากับ “ตีเช็คเปล่า” ให้ กรธ.เขียนกฎหมายลูก 10 ฉบับได้ตามใจ

รัฐธรรมนูญทุกฉบับต้องอาศัยกฎหมายลูก อย่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญมาขยายรายละเอียด ซึ่งร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติต้องมีกฎหมายลูกอีกอย่างน้อย 10 ฉบับ และถ้าร่างผ่านประชามติ กรรมการร่างรัฐธรรมนูญจะอยู่ยาวอีกแปดเดือนเพื่อร่างกฎหมายลูกเองทั้งหมด เนื้อหาจะเป็นยังไงตอนนี้ยังไม่เห็นทิศทาง
ภาคประชาสังคมฟ้องศาลปกครองสูงสุด ขอเพิกถอนประกาศ กกต. จำกัดเสรีภาพรณรงค์ประชามติ
อ่าน

ภาคประชาสังคมฟ้องศาลปกครองสูงสุด ขอเพิกถอนประกาศ กกต. จำกัดเสรีภาพรณรงค์ประชามติ

iLaw ควง สสส. นักวิชาการ นักกิจกรรม ยื่นฟ้องศาลปกครองสูงสุด ขอเพิกถอนประกาศ กกต. เนื่องจากจำกัดเสรีภาพในการแสดงความเห็นเรื่องประชามติเกินความจำเป็น ทำให้ทำกิจกรรมรณรงค์หรือขายเสื้อไม่ได้ พร้อมขอให้ระงับการออกอากาศรายการ “7 สิงหา ประชามติร่วมใจ” เพราะให้น้ำหนักข้างเดียว
ประชามติไทยสไตล์: โหวตเยส รัฐประหาร ร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

ประชามติไทยสไตล์: โหวตเยส รัฐประหาร ร่างรัฐธรรมนูญ

7 สิงหาคม 2559 จะเป็นประชามติครั้งที่สองของประเทศไทย หลังจากที่ครั้งแรกเกิดขึ้นเมือเดือนสิงหาคม ปี 2550 การออกเสียงประชามติทั้งสองครั้งเกิดขึ้นภายใต้การควบคุมของรัฐบาลทหาร แต่บรรยากาศการแสดงความคิดเห็นและการรณรงค์ก็มีความแตกต่างกันในระดับหนึ่ง อะไรคือความเหมือนอะไรคือความต่าง
รณรงค์ประชามติ ‘ยาก’ ศาล รธน.ชี้ พ.ร.บ.ประชามติฯ ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ
อ่าน

รณรงค์ประชามติ ‘ยาก’ ศาล รธน.ชี้ พ.ร.บ.ประชามติฯ ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ

ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยแล้วว่า "มาตรา 61 วรรค 2" ของ พ.ร.บ.ประชามติฯ "ไม่ขัดหรือแย้ง" ต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2557 มาตรา 4 ทั้งนี้ เอกสารชี้แจงเป็นเพียงการบอกมติของศาลรัฐธรรมนูญว่าขัดหรือไม่ แต่ไม่ได้ชี้แจงถึงเหตุผลโดยละเอียด ต้องรอดูเอกสารฉบับเต็ม
ขู่-ห้าม-จับ พ.ร.บ.ประชามติฯ กกต.ใช้จำกัดการรณรงค์อย่างไรบ้าง
อ่าน

ขู่-ห้าม-จับ พ.ร.บ.ประชามติฯ กกต.ใช้จำกัดการรณรงค์อย่างไรบ้าง

บรรยากาศของการลงประชามติยังเป็นไปอย่างเงียบเหงา เพราะมีเพียงภาครัฐเท่านั้นที่รณรงค์ได้เต็มตัว ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการบังคับใช้ พ.ร.บ.ประชามติฯ ที่มีบทบัญญัติที่คลุมเครือ และมีโทษที่รุนแรง อย่างแข็งขัน ทำให้การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญถูกกระชับพื้นที่เข้าไปทุกที
Prachamati.org ขอท้าคนกล้า! ส่งแบบเสื้อรณรงค์ประชามติ
อ่าน

Prachamati.org ขอท้าคนกล้า! ส่งแบบเสื้อรณรงค์ประชามติ

เว็บไซต์ประชามติขอชวนประชาชนเจ้าของอำนาจทุกคน ส่งแบบเสื้อยืดรณรงค์ประชามติเข้าประกวด ภายใต้แนวคิด "Design your Future" เพื่อชิงเงินรางวัลรวมมูลค่า 18,000 บาท