เปิดโมเดลตั้ง สสร. ของพรรครัฐบาล เลือกตั้ง 150 + แต่งตั้ง 50
อ่าน

เปิดโมเดลตั้ง สสร. ของพรรครัฐบาล เลือกตั้ง 150 + แต่งตั้ง 50

ถึงคราวที่พรรครัฐบาลและพรรคร่วมรัฐบาลจะเสนอแนวทางของตัวเองบ้าง โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง "บางส่วน" และให้มีสัดส่วน สสร. ที่มาจากการเลือกของรัฐสภา และการแต่งตั้งที่คัดเลือก "ผู้เชี่ยวชาญ" รวมถึงบรรดานักเรียน นิสิต นักศึกษา ที่มาจากวิธีการของ กกต.
เปิดโมเดล สสร. ตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับ ‘พรรคเพื่อไทย’
อ่าน

เปิดโมเดล สสร. ตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับ ‘พรรคเพื่อไทย’

31 สิงหาคม 2563 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เปิดเผยร่างรัฐธรรมนูญฉบับที่สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และหัวหน้าพรรคเพื่อไทย ร่วมกับคณะเป็นผู้เสนอ โดยมีทั้งสิ้น 5 มาตรา หนึ่งในสาระสำคัญ คือ วิธีการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ที่มาจากการเลือกตั้ง
ฝ่ายค้าน-คณะก้าวหน้า-ประชาชน เห็นพ้องตั้ง สสร. ร่างรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

ฝ่ายค้าน-คณะก้าวหน้า-ประชาชน เห็นพ้องตั้ง สสร. ร่างรัฐธรรมนูญใหม่

การออกมาชุมนุมอย่างต่อเนื่องของกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ที่มาพร้อมข้อเรียกร้องให้มีการแก้รัฐธรรมนูญ ได้ส่งผลให้ทั้งรัฐสภาและรัฐบาลต้องออกมาขยับเพื่อตอบสนองกระแสดังกล่าว แต่ทว่าจากข้อเสนอแก้รัฐธรรมนูญเท่าที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นของพรรคร่วมฝ่ายค้าน คณะก้าวหน้าหรือพรรคก้าวไกล รวมถึงร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน จะพบว่า แต่ละฝ่ายมีทั้งจุดร่วมและจุดต่างอยู่หลายประการ
เปิด 4 โมเดล “สสร.” เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
อ่าน

เปิด 4 โมเดล “สสร.” เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน

ในปี 2563 ทั้งภาคประชาชนและกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษาจากทั่วประเทศ ได้มีข้อเสนออย่างหนึ่งที่ตรงกันว่า ต้องการให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือ สสร. ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน แต่ทว่ายังไม่มีรายละเอียดของรูปแบบและวิธีการได้มาซึ่ง สสร.
3 ปี ประชามติ: ทำไมคนถึงไม่พอใจประชามติ ปี 2559
อ่าน

3 ปี ประชามติ: ทำไมคนถึงไม่พอใจประชามติ ปี 2559

ครบรอบ 3 ปี ประชามติร่างรัฐธรรมนูญ ชวนทบทวนอีกครั้งทำไมการออกเสียงประชามติปี 59 จึงเป็นกระบวนการที่ขาดความชอบธรรมและไม่เป็นประชาธิปไตย
ปฏิทินอย่างช้า: เตรียมจับตากฎหมายหลังรัฐธรรมนูญประกาศใช้
อ่าน

ปฏิทินอย่างช้า: เตรียมจับตากฎหมายหลังรัฐธรรมนูญประกาศใช้

ภายหลังการแก้ไขรัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ 2557 ทำให้ระยะเวลาของการออกกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญใหม่อาจเลื่อนออกไปยาวนานขึ้น อย่างมากที่สุดคือ เลื่อนออกไป “4 เดือน” แต่ทว่า ก็ยังมีกฎหมายหลายฉบับที่จะเผยโฉมออกมาในปีนี้ เช่น กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ชาติ กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูป เป็นต้น
‘โรดแมป 19 เดือน’ อาจถูกขยาย ‘เลือกตั้ง’ อาจต้องเลื่อนยาวถึงปลายปี 2561
อ่าน

‘โรดแมป 19 เดือน’ อาจถูกขยาย ‘เลือกตั้ง’ อาจต้องเลื่อนยาวถึงปลายปี 2561

ขั้นตอนต่างๆ หลังร่างรัฐธรรมนูญผ่านจนไปถึงการเลือกตั้งนั้นอาจใช้เวลาถึง 19 เดือน แต่หลังพล.อ.ประยุทธ์ เปิดเผยว่า ร่างรัฐธรรมนูญยังต้องถูกแก้ไขอีกในหมวดพระมหากษัตริย์ ทำให้ต้องแก้ไขรัฐธรรมนูญชั่วคราว เพื่อเปิดช่องให้แก้ไขร่างรัฐธรรมนูญอีกครั้ง พร้อมทูลเกล้าฯ ให้พระมหากษัตริย์พิจารณาใหม่ และอาจจะใช้เวลาเพิ่มอีก 4 เดือน เท่ากับว่า โรดแมปสู่การเลือกตั้งอาจถูกขยายและการเลือกตั้งอาจเลื่อนไปไกลถึงปลายปี 2561 
เปิดผลสำรวจ ประชาชนรับร่างรัฐธรรมนูญ เพราะต้องการให้ประเทศสงบ เนื้อหาร่างมีผลต่อการตัดสินใจน้อย
อ่าน

เปิดผลสำรวจ ประชาชนรับร่างรัฐธรรมนูญ เพราะต้องการให้ประเทศสงบ เนื้อหาร่างมีผลต่อการตัดสินใจน้อย

iLaw ร่วมกับสถาบันสิทธิฯ เปิดผลการสำรวจเรื่อง เหตุผลที่คนไปลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พบคนส่วนใหญ่ไม่ได้ตัดสินใจตามเนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญ แต่คนที่เห็นชอบส่วนใหญ่เพราะอยากให้ประเทศสงบ คนที่ไม่เห็นชอบส่วนใหญ่เพราะประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วม
ความเป็นส่วนตัวภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ “ต้องจับตา”
อ่าน

ความเป็นส่วนตัวภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ “ต้องจับตา”

โลกปัจจุบันการเข้าถึงและการประมวลผลข้อมูลสามารถทำได้ง่ายและรวดเร็ว ด้วยความสามารถของคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต แต่ปัญหาที่ตามมากคือ "การละเมิดล่วงล้ำความเป็นส่วนตัว" ทั้งนี้ สิทธิดังกล่าวเป็นสิทธิพื้นฐานที่ได้รับการรับรองมาโดยตลอด จวบจนร่างรัฐธรรมนูญ 2559 แต่ทว่าแนวทางของรัฐบาลปัจจุบันทำให้เราต้องจับตากฎหมายลูกให้มากขึ้นด้วยวิธีเขียนที่ต่างออกไป
ที่มา-ที่ไป เจตนารมณ์คำถามพ่วงส.ว.เสนอชื่อนายกฯได้ไหม?
อ่าน

ที่มา-ที่ไป เจตนารมณ์คำถามพ่วงส.ว.เสนอชื่อนายกฯได้ไหม?

แม้ประชามติร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงจะผ่านความเห็นชอบแล้ว แต่ยังเหลือขั้นตอนแก้ร่างรัฐธรรมนูญกับคำถามพ่วงให้สอดคล้องกัน การแก้ไขเพิ่มเติมที่ดูเหมือนจะง่ายถึงตอนนี้ไม่แน่แล้ว เมื่อ สนช.พยายามขยายความคำถามพ่วงเพื่อให้ ส.ว.ชุดแรกจาก คสช. มีสิทธิเสนอชื่อนายกฯ ได้ด้วย