แถลงการณ์เรื่อง “ประชามติกับการใช้สิทธิเสรีภาพ”
อ่าน

แถลงการณ์เรื่อง “ประชามติกับการใช้สิทธิเสรีภาพ”

กลุ่มนักวิชาการและภาคประชาชนร่วมกันอ่านแถลงการณ์เรื่อง “ประชามติกับการใช้เสรีภาพ” เชื่อว่าประชามติร่างรัฐธรรมนูญในวันที่ 7 ส.ค. จะไม่สามารถดำเนินไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม หากมาตรา 61 วรรคสอง ของ พ.ร.บ.ว่าด้วยการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2559 และประกาศ กกต. เมื่อวันที่ 2 พ.ค. 2559 ยังคงอยู่ต่อไป
สมัชชาสาธารณสุขปกป้องประชาธิปไตยสรุป 7 ประเด็นร่าง รธน.
อ่าน

สมัชชาสาธารณสุขปกป้องประชาธิปไตยสรุป 7 ประเด็นร่าง รธน.

สมัชชาสาธารณสุขปกป้องประชาธิปไตย และกลุ่มเพื่อนสาธารณสุขเพื่อประชาธิปไตย ออกหนังสือแสดงความคิดเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญ ระบุว่า ร่างรัฐธรรมนูญลดทอนสิทธิเสรีภาพของประชาชน, ระบบการเลือกตั้งบิดผันเจตจำนงของประชาชน และเป็นการสืบทอดอำนาจองค์กรที่มาจากการแต่งตั้ง
บูรพา เล็กล้วนงาม: ประมวลเนื้อหาร่างรัฐธรรมนูญ 2559 ก่อนลงประชามติ
อ่าน

บูรพา เล็กล้วนงาม: ประมวลเนื้อหาร่างรัฐธรรมนูญ 2559 ก่อนลงประชามติ

บูรพา เล็กล้วนงาม อดีตนักข่าวผู้คร่ำหวอดในวงการการเมือง ประมวลเนื้อหาร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย ก่อนนำไปลงประชามติ สรุปทั้งฉบับมาให้เบาๆ ใน 5 หน้า สำหรับคนที่ไม่อยากอ่านเต็มทุกมาตรา
ศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัย พ.ร.บ.ประชามติฯ อย่างไร ไม่มีผลต่อการตัดสินใจเลื่อนการทำประชามติ
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัย พ.ร.บ.ประชามติฯ อย่างไร ไม่มีผลต่อการตัดสินใจเลื่อนการทำประชามติ

ไอลอว์ชี้แจง กรณีที่ผู้ตรวจการแถลงส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยมาตรา 61 วรรคสอง ของ พ.ร.บ.ประชามติฯ หากศาลวินิจฉัยว่าขัดกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ผลที่จะตามมาก็คือ เฉพาะมาตรา 61 วรรคสอง จะใช้บังคับไม่ได้ เสมือนว่าเนื้อหาตามวรรคสองนี้ไม่เคยมีอยู่ และไม่เป็นเหตุให้เลื่อนประชามติ
7 เรื่องน่ารู้ก่อนลงประชามติ 7 สิงหา
อ่าน

7 เรื่องน่ารู้ก่อนลงประชามติ 7 สิงหา

หลายคนยังคงสับสนและงุนงงในหลายประเด็นสำหรับการออกเสียงประชามติที่จะเกิดขึ้นในวันที่ 7 สิงหาคม 2559 เพื่อการเตรียมความพร้อม เราข้อย้ำเตือน 7 ประเด็นก่อนเข้าคูหาลงประชามติ
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: รีวิวระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมของมีชัย
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: รีวิวระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมของมีชัย

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติของมีชัย ฤชุพันธ์ุ ยังยืนยันในรูปแบบที่คิดค้นขึ้นใหม่ คือระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม หรือ MMA โดยเชื่อมั่นว่าจะช่วยให้เสียงทุกเสียงมีความหมาย ขณะที่นักวิชาการพรรคการเมืองสะท้อนว่าจะส่งผลให้พรรคการเมืองอ่อนแอ เกิดรัฐบาลผสมที่ไร้เสถียรภาพ มีโอกาสที่จะซื้อเสียงมากขึ้น และไม่สะท้อนเจตนารมณ์ของผู้ออกเสียง ฯลฯ