ประชุมสภา: สภาล่มครั้งที่ 19 ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. มีแนวโน้มพลิกกลับไปสูตรหาร 100
อ่าน

ประชุมสภา: สภาล่มครั้งที่ 19 ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. มีแนวโน้มพลิกกลับไปสูตรหาร 100

10 สิงหาคม 2565 ที่ประชุมรัฐสภามีนัดพิจารณา ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ในวาระสอง โดยในวันดังกล่าว สภาได้พิจารณาไปถึงมาตรา 24/1 แต่ทว่า ผลการลงมติในมาตราดังกล่าวมีไม่ถึงจำนวนกึ่งหนึ่งของสมาชิกรัฐสภา ทำให้ พลเพชร วิชิตชลชัย ที่ทำหน้าที่เป็นประธานรัฐสภาสั่งปิดการประชุม และมีแนวโน้มที่รัฐสภาจะพิจารณากฎหมายไม่ทัน 180 วัน และถือว่ารัฐสภาให้ความเห็นชอบ ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ฉบับ ครม. ที่ใช้สูตรคำนวณที่นั่ง ส.ส. แบบสูตรหาร 100
จับตาโค้งสุดท้ายกฎหมายลูกเลือกตั้ง หากรัฐสภาพิจารณาไม่ทัน พลิกกลับเป็นสูตร “หาร 100”
อ่าน

จับตาโค้งสุดท้ายกฎหมายลูกเลือกตั้ง หากรัฐสภาพิจารณาไม่ทัน พลิกกลับเป็นสูตร “หาร 100”

10 ส.ค. 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา  มีวาระพิจารณาร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. ซึ่งรัฐสภาต้องพิจารณาให้เสร็จภายใน 15 ส.ค. หากไม่เสร็จ ให้ถือว่ารัฐสภาให้ความเห็นชอบตามร่างพ.ร.ป.ที่ใช้เป็นหลักในการพิจารณาวาระสอง พลิกเนื้อหาหลายอย่างกับไปเป็นแบบเดิม
สภาล่ม: จากความบกพร่องสู่ความตั้งใจของฝ่ายรัฐบาล
อ่าน

สภาล่ม: จากความบกพร่องสู่ความตั้งใจของฝ่ายรัฐบาล

นับตั้งแต่เปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรและรัฐสภาตั้งแต่ปี 2562 มีเหตุการณ์สภาล่มเกิดขึ้นรวมกัน อย่างน้อย 18 ครั้ง โดยจากสถิติการเข้าประชุมสภาสะท้อนว่า ฝ่ายรัฐบาลซึ่งไปด้วยไปด้วยพรรครัฐบาลและสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งไม่สามารถรักษาองค์ประชุมได้ อีกทั้ง ในช่วงหลังฝ่ายรัฐบาลพยายามใช้เหตุการณ์สภาล่มเพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองของตนเอง
3 ข้อที่จะหายไป ถ้าพิจารณาร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ไม่ทัน
อ่าน

3 ข้อที่จะหายไป ถ้าพิจารณาร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ไม่ทัน

พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ส่อแววพิจารณาไม่เสร็จภายใน 180 วันตามที่กฎหมายกำหนด การปล่อยให้พิจารณาไม่ทันนั้นมีมากกว่าแค่เรื่องของสูตรคำนวณที่นั่ง ส.ส. เพราะยังมีข้อเสนอที่มีประโยชน์ต่อการเข้าถึงการเลือกตั้งของประชาชนที่อาจต้องหายไป
กฎหมายลูกเลือกตั้งค้างท่ออีกสัปดาห์ หลัง #สภาล่ม เหตุองค์ประชุมไม่ครบ
อ่าน

กฎหมายลูกเลือกตั้งค้างท่ออีกสัปดาห์ หลัง #สภาล่ม เหตุองค์ประชุมไม่ครบ

3 ส.ค. 2565 เกิดเหตุสภาล่ม องค์ประชุมไม่ครบ ขณะพิจารณาร่างพ.ร.บ.กำหนดระยะเวลาดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม ร่างกฎหมายดังกล่าวยังพิจารณาไม่เสร็จ ส่งผลให้ร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. ซึ่งอยู่ในลำดับพิจารณาถัดไป ค้างท่อต้องยกยอดไปพิจารณาต่อในการประชุมรัฐสภาครั้งหน้า
จับตา! ประชุมสภา โหวตกฎหมายลูกเลือกตั้ง-เคาะกรรมการป.ป.ช.
อ่าน

จับตา! ประชุมสภา โหวตกฎหมายลูกเลือกตั้ง-เคาะกรรมการป.ป.ช.

1-4 ส.ค. 2565 มีการประชุมสภาหลายนัด ทั้งวุฒิสภา นัดลงมติให้ความเห็นชอบผู้ได้รับการเสนอชื่อดำรงตำแหน่งป.ป.ช. สภาผู้แทนราษฎร พิจารณาร่างกฎหมาย เช่น ร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ ที่เสนอมาเพื่อใช้แทนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และรัฐสภา (ส.ส. + ส.ว.) พิจารณาร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. 
กฎหมายลูกเลือกตั้งส.ส. ส่อแววช้า วุ่นสืบเนื่องปมแก้สูตรคำนวณส.ส.บัญชีรายชื่อ “หาร 500”
อ่าน

กฎหมายลูกเลือกตั้งส.ส. ส่อแววช้า วุ่นสืบเนื่องปมแก้สูตรคำนวณส.ส.บัญชีรายชื่อ “หาร 500”

26 กรกฎาคม 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีมติให้กมธ. ร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. นำร่างกลับไปทบทวนใหม่ สืบเนื่องจากปมการโหวตพลิกขั้ว แก้ไขร่างจากสูตรคำนวณส.ส.แบบบัญชีรายชื่อจาก "หาร 100" เป็น "หาร 500"
จับตา! กฎหมายลูกเลือกตั้งส.ส.-พรรคการเมือง หลังรัฐสภาเคาะสูตรหาร 500
อ่าน

จับตา! กฎหมายลูกเลือกตั้งส.ส.-พรรคการเมือง หลังรัฐสภาเคาะสูตรหาร 500

26-27 กรกฎาคม 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา (ส.ส. + ส.ว.) มีนัดพิจารณาร่างกฎหมายสำคัญหลายฉบับ อาทิ ร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมือง รวมถึงร่างกฎหมายใหม่ที่เป็นกฎหมายปฏิรูปประเทศ ได้แก่ ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการปรับเป็นพินัย ร่างพ.ร.บ.การปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ ร่างพ.ร.บ.กำหนดระยะเวลาดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม
เช็คชื่อ! ส.ส. ส.ว. ใครโหวตพลิกล็อคสูตรคำนวณส.ส.บัญชีรายชื่อ หาร 100 vs. หาร 500
อ่าน

เช็คชื่อ! ส.ส. ส.ว. ใครโหวตพลิกล็อคสูตรคำนวณส.ส.บัญชีรายชื่อ หาร 100 vs. หาร 500

เมื่อ 6 กรกฎาคม 2565 รัฐสภาโหวตพลิกล็อคสูตรคำนวณส.ส.บัญชีรายชื่อในร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. จากสูตรหาร 100 เป็นสูตรหาร 500 โดยมี "ส.ว.ชุดพิเศษ" เป็นตัวแปรสำคัญที่ทำให้สูตรการเลือกตั้งส.ส.ครั้งถัดไปเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ